15731 : โครงการการอนุรักษ์และพัฒนาต้นเสม็ดอย่างยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์ ทองสง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/10/2563 14:31:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/11/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 2563 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชลดรงค์  ทองสง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. การบริการวิชาการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 4.1.2 จำนวนกิจกรรมบริการวิชาการภายใต้ความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรเครือข่ายความร่วมมือการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 2. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือการบริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เดิมเป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติละแมและได้ลดฐานะมาเป็นพื้นที่ราชพัสดุภายใต้การดูแลของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ซึ่งพื้นที่แห่งนี้ยังคงมีทรัพยากรทางธรรมชาติที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมากแต่พื้นที่บางส่วนก็ถูกปรับสภาพจากการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรไปบ้างทำให้ทรัพยากรหลายอย่างมีความเสี่ยงที่จะหายไปจากพื้นที่โดยเฉพาะอย่างผื่นป่าชายหาดแห่งสุดท้ายของอำเภอละแมที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์อยู่ โดยในพื้นที่ป่าชายหาดของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรจะมีต้นเสม็ดขาว (Melaleuca cajuputi ) และเสม็ดแดง (Syzygium gratum) ขึ้นอยู่เป็นจำนวนมากซึ่งพืชสองชนิดนี้เป็นพันธุ์ไม้ท้องถิ่นที่มีการนำมาใช้เป็นยาสมุนไพรบ้านพื้นบ้านกันอย่างหลากหลายเพราะมีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญอยู่หลายชนิดที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ ปัจจุบันพื้นที่ป่าชายหาดในหลายพื้นที่ได้ลดจำนวนลงมีผลทำให้ปริมาณของต้นเสม็ดทั้ง 2 ชนิดลดจำนวนลงไปด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรซึ่งเป็นหน่วยงานร่วมสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เล็งเห็นความสำคัญของต้นเม็ดทั้ง 2 ชนิดนี้ จึงมีแนวคิดที่จะมีการอนรักษ์และฟื้นฟูประชากรต้นเสม็ดในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรและพื้นที่ใกล้เคียงผ่านวิธีการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการต่างๆ ตลอดจนการนำสารสกัดจากต้นเสม็ดมาใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในลักษณะต่างๆและส่งเสริมให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้นำสารสำคัญจากต้นเสม็ดไปใช้เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นรายได้แก่ชุมชนในอีกทางหนึ่ง ชุดโครงการการอนุรักษ์และพัฒนาต้นเสม็ดอย่างอย่างยั่งยืนจะเป็นโครงการที่จะนำองค์ความรู้มาใช้ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูประชากรต้นเสม็ดขาว นำสารสกัดที่และผลิตผลจากต้นเสม็ดมาใช้เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและนำไปส่งเสริมให้กลุ่มชุมชนนำไปใช้ในการสร้างรายได้อย่างยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อกำหนดแนวเขตป่าอนุรักษ์เสม็ดแดงและศึกษาวิธีการขยายพันธุ์ที่เหมาะสมในการฟื้นฟูประชากรต้นเสม็ด
เพื่อศึกษาสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากใบเสม็ดเพื่อเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์จากผลผลิตของชันโรงในป่าเสม็ดเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พื้นที่ป่าอนุรักษ์เสม็ดแดง, สูตรผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของเสม็ดแดง และแผ่นพับเผยแพร่
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 75 คน 75
KPI 3 : สูตรอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 รายการ 1
KPI 4 : พื้นที่ป่าอนุรักษ์เสม็ดแดง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แห่ง 1
KPI 5 : ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมจากเสม็ดแดง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
ผลผลิต : ได้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่มีเสม็ดเป็นส่วนผสม 2 ผลิตภัณฑ์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
87.6 ร้อยละ 87.6
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
52 คน 52
KPI 3 : ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมจากเสม็ด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
ผลผลิต : 1. เลี้ยงชันโรงและผึ้งโพรงไทย 2. ผลิตสบู่จากน้ำผึ้งชันโรงและน้ำผึ้งโพรงไทย 3. เผยแพร่ความรู้การผลิตสบู่จากน้ำผึ้งโรงและน้ำผึ้งโพรงไทย
KPI 1 : ผลิตสบู่จากน้ำผึ้งชันโรงและน้ำผึ้งโพรงไทย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
220 ก้อน 220
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการเผยแพร่ความรู้การผลิตสบู่จากน้ำผึ้งโรงและน้ำผึ้งโพรงไทย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 4 : เลี้ยงชันโรงและผึ้งโพรงไทย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 กล่อง 40
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พื้นที่ป่าอนุรักษ์เสม็ดแดง, สูตรผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของเสม็ดแดง และแผ่นพับเผยแพร่
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การอนุรักษ์พันธุกรรมและขยายพันธุ์ต้นเสม็ดแดงเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของชุมชนในจังหวัดชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/11/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จิระศักดิ์  วิชาสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาสำรวจพื้นที่และจัดทำพิกัดต้นพืช เป็นเงิน 9,800 บาท
- ค่าจ้างเหมาเก็บตัวอย่าง, จัดเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 1 งาน รวมเป็นเงิน 9,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์คุณค่าโภชนาการ รวมเป็นเงิน 18,500 บาท
- ค่าจ้างเหมาออกแบบฉลาก จัดเตรียมบรรจุภัณฑ์ และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ รวมเป็นเงิน 5,250 บาท
- ค่าจ้างเหมาผลิตป้ายโรลอัพ จำนวน 1 ป้ายๆ 1,500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าเอกสารแผ่นพับ จำนวน 60 แผ่นๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน - บาท
- ค่าป้ายชื่อโครงการ 1 ป้าย (ป้ายอะคลีลิก) เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,050.00 บาท 45,050.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนทำงานล่วงเวลาราชการหัวหน้าโครงการ (1 คน) เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และสารเคมี (สารเคมีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสูตร MS เช่น แอมโมเนียมไนเตรท, เบนซิลอะดีนีน, ผงไคติน-ไคโตซาน,สารปรับพีเอช, ผงวุ้น Agar, ถุงมือ หน้ากาก และวัสดุวิทยาศาสตร์อื่น ๆ) รวมเป็นเงิน 20,000 บาท
- วัสดุสำนักงาน (กระดาษ ปากกา สติ๊กเกอร์ กระดาษกาว ฟิวเจอร์บอร์ด ดินสอ กล่องพลาสติก ค่าถ่ายเอกสารสี ค่าหมึกสี ค่าแผ่นป้ายโฟมบอร์ด และอื่น ๆ) รวมเป็นเงิน 4,100 บาท
- วัสดุงานบ้านงานครัว (ขวด กระดาษชำระ ถาด ตะกร้า ภาชนะใส่ของ น้ำยาทำความสะอาด กระดาษเช็ดหน้า น้ำดื่ม ถุงหิ้ว ถุงพลาสติก ถุงมือเอนกประสงค์ รวมเป็นเงิน 3,000 บาท
- วัสดุเกษตร (จอบ, เสียม, ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด, วัสดุระบบน้ำ เช่นสายน้ำพุ่ง, วาล์ว, ท่อพีวีซี และอื่นๆ) รวมเป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 41,100.00 บาท 0.00 บาท 41,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 86150.00
ผลผลิต : ได้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่มีเสม็ดเป็นส่วนผสม 2 ผลิตภัณฑ์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 สมบัติการต้านอนุมูลอิสระและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากใบเสม็ดเพื่อเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/11/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 25 คนๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท รวมเป็นเงิน 4,000 บาท)
- ค่าอาหารว่าง (จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 25 คนๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 3,000 บาท)
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม (720 แผ่น รวมเป็นเงิน 360 บาท)
- ค่าจัดทำเอกสารแผ่นพับ (60 แผ่นๆ ละ 5 บาท รวมเป็นเงิน 300 บาท)
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ป้าย เป็นเงิน 700 บาท
- ค่าจ้างเหมาออกแบบฉลาก จัดเตรียมบรรจุภัณฑ์ และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ รวมเป็นเงิน 13,500 บาท
- ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์สารตัวอย่างด้วยเครื่องวิเคราะห์ขั้นสูง เป็นเงิน 5,000 บาท


ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 26,860.00 บาท 0.00 บาท 26,860.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนทำงานล่วงเวลาราชการหัวหน้าโครงการ (1 คน) เป็นเงิน 10,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (1 คน ๆ 2 ครั้ง ๆ ละ 6 ชั่วโมง บรรยาย 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท, ปฏิบัติ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท) รวมเป็นเงิน 5,400 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน เป็นเงิน 6,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,200.00 บาท 9,700.00 บาท 21,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- วัสดุวิทยาศาสตร์และสารเคมี (Ethanol, folin reagent, gallic acid, Ascorbic acid, DPPH, sodium carbonate ถุงมือ หน้ากาก และค่าสารเคมีอื่น ๆ) รวมเป็นเงิน 37,367.64 บาท
- วัสดุสำนักงาน (กระดาษ ปากกา สติ๊กเกอร์ กระดาษกาว ฟิวเจอร์บอร์ด ดินสอ กล่องพลาสติก ค่าถ่ายเอกสารสี ค่าหมึกสี ค่าแผ่นป้ายโฟมบอร์ด และอื่น ๆ) รวมเป็นเงิน 6,000 บาท
- วัสดุงานบ้านงานครัว (ขวด กระดาษชำระ ถาด ตะกร้า ภาชนะใส่ของ น้ำยาทำความสะอาด กระดาษเช็ดหน้า น้ำดื่ม ถุงหิ้ว ถุงพลาสติก ถุงมือเอนกประสงค์ รวมเป็นเงิน 2,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 43,987.64 บาท 2,080.00 บาท 46,067.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 94827.00
ผลผลิต : 1. เลี้ยงชันโรงและผึ้งโพรงไทย 2. ผลิตสบู่จากน้ำผึ้งชันโรงและน้ำผึ้งโพรงไทย 3. เผยแพร่ความรู้การผลิตสบู่จากน้ำผึ้งโรงและน้ำผึ้งโพรงไทย
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 เลี้ยงชันโรงและผึ้งโพรงไทยในป่าเสม็ดขาวเพื่อการอนุรักษ์และแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้ำผึ้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/11/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาผลิตกล่องเลี้ยงผึ้งโพรงไทย จำนวน 10 กล่องๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาผลิตกล่องเลี้ยงชันโรง จำนวน 30 กล่องๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาผลิตสบู่จากน้ำผึ้งชันโรงและน้ำผึ้งโพรงไทยพร้อมบรรจุภัณฑ์ จำนวน 220 ก้อนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 11,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาผลิตสารคดีให้ความรู้การผลิตสบู่จากชันโรงและผึ้งโพรงไทย จำนวน 1 เรื่องๆละ 20,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาผลิตป้ายโรอัพ จำนวน 2 ป้ายๆ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่ม จำนวน 4 เล่มๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลและประมวลผลกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ จำนวน 1 ครั้งๆ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าชันโรง จำนวน 40 รังๆ ละ 1,250 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล