15724 : ฐานเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นายไพบูลย์ โพธิ์ทอง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/4/2563 11:34:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  1) ผู้ประกอบการด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 2) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บกำจัดขยะอินทรีย์ 3) เกษตรกร นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการ 2563 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ไพบูลย์  โพธิ์ทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ศาสตราจารย์ ดร. อานัฐ  ตันโช
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ขยะอินทรีย์ ประกอบด้วยทั้งของแห้งเช่น ใบไม้ หญ้า กิ่งไม้ และขยะสดจากกระบวนการประกอบอาหารและแปรรูปผลผลิตเกษตรจากโรงงานต่างๆ ในส่วนของขยะอินทรีย์แห้งมักนำไปใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักและไม่เป็นปัญหาก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมหรือชุมชนเว้นแต่จะมีการเผาทำลายก่อมลพิษทางอากาศ แต่ในส่วนของขยะอินทรีย์ที่เป็นขยะสด ที่เก็บได้จากตลาดสด หรือเศษอาหารเหลือจากครัวเรือน รวมถึงเศษผักสด ผลไม้กระป๋องจากการแปรรูปผลผลิตในโรงงานต่างๆ มักเป็นปัญหาในทุกพื้นที่ที่มีสังคมเมืองตั้งอยู่ ทั้งนี้ขยะส่วนนี้เป็นส่วนที่ก่อผลกระทบในด้านกลิ่นเหม็น แพร่เชื้อก่อโรค หนูและแมลงสาบ เป็นที่รังเกียจของชุมชนแต่ละแห่ง และเป็นปัญหาของการเก็บกำจัดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่ขยะสดนั้นเป็นส่วนที่มีคุณค่าสารอาหารสูง เหมาะสำหรับนำเลี้ยงสัตว์ และผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ ทุกวันนี้ประชากรเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสัดส่วนของพลเมืองในส่วนของสังคมเมืองเพิ่มมากขึ้น จึงก่อขยะเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในส่วนของขยะสดที่เหลือจากการประกอบอาหารเลี้ยงมนุษย์ มีปริมาณมากขึ้นทุกขณะโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และเมืองที่มีการส่งเสริมด้านการศึกษาและด้านการท่องเที่ยวอย่างจังหวัดเชียงใหม่ กรุงเทพฯ พัทยา เป็นต้น ซึ่งการใช้ไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ชุมชน กำจัดขยะสดเป็นโครงการที่ผ่านการวิจัยแล้วและสร้างโรงเรือนเลี้ยงในระดับพาณิชย์เป็นผลสำเร็จ หน่วยงาน ผู้ประกอบการต่างๆที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าศึกษาเรียนรู้และนำไปประยุกต์ใช้จัดการขยะสดในพื้นที่ของตนได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ระดับชุมชน แก่หน่วยงานเทศบาล ผู้ประกอบการปุ๋ยอินทรีย์ และภาคส่วนต่างๆที่มีปัญหาด้านขยะอินทรีย์ ทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ
เป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาวิจัย ของ นักวิชาการ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และประชาชนทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้รับบริการ เช่น เกษตรกร นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา ผู้ประกอบการด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดเก็บ และกำจัดขยะอินทรีย์ ได้รับความรู้ในการแก้ไขปัญหาขยะ โดยการใช้ไส้เดือนดิน
KPI 1 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 ล้านบาท 0.1
KPI 3 : จำนวนแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนดินเพื่อกำจัดขยะอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 4 : ร้อยละของการนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ของผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : ร้อยละความพอใจของผู้รับบริการ/หน่วนงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 คน 200
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้รับบริการ เช่น เกษตรกร นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา ผู้ประกอบการด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดเก็บ และกำจัดขยะอินทรีย์ ได้รับความรู้ในการแก้ไขปัญหาขยะ โดยการใช้ไส้เดือนดิน
ชื่อกิจกรรม :
สร้างสื่อประกอบการให้บริการวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 15/05/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายไพบูลย์  โพธิ์ทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าจ้างเหมาจัดทำแผ่นพับองค์ความรู้ ขนาด เอ 4 (สองหน้า) จำนวน 2,000 แผ่นๆละ 2 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
2.ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิลโปสเตอร์ ขนาด 0.6x1.2 เมตร จำนวน 4 ผืนๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
ชื่อกิจกรรม :
ดำเนินการเลี้ยงไส้เดือนดิน ภายในโรงเรือนต้นแบบเพื่อเป็นจุดสาธิต ศึกษาดูงาน บริการวิชาการแก่ผู้เข้าเยี่ยมชม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายไพบูลย์  โพธิ์ทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าวัสดุเกษตร เช่น จอบ ถุงพลาสติกดำ ดิน แกลบดำ ฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
2.วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
3.วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ แผ่นซีดี ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 90,000.00 บาท 0.00 บาท 90,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 90000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องด้วยในปี 2563 เกิดสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงทำให้การบริการวิชาการ ณ จุดบริการที่ทางโครงการได้จัดเตรียมไว้ มีจำนวนผู้เข้ารับบริการที่ลดลง และต้องเตรียมพร้อมมาตรการการป้องกันเพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดความยุ่งยาก และไม่สะดวกต่อผู้รับบริการในบางครั้ง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
โครงการได้เปิดบริการวิชาการและช่องทางการศึกษาเรียนรู้ ให้คำแนะนำผ่านระบบโทรศัพท์ และช่องทางบนเพล็ตเฟสบุ๊ค
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 นายไพบูลย์.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ฐานเรียนรู้ในรายวิชาเกษตรเพื่อชีวิต
ช่วงเวลา : 01/05/2562 - 29/02/2563
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล