15722 : โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการและบริการวิชาการในพื้นที่เพื่อยกระดับการจัดการคุณภาพน้ำทิ้งจากระบบเลี้ยงปลาน้ำจืดเศรษฐกิจนำไปสู่มาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์ที่ยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/4/2563 16:33:00
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  70  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกรอินทรีย์ กลุ่มผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ กลุ่มผู้บริโภค ชุมชน นักเรียน นักศึกษา เยาวชน ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้ว่างงาน บัณฑิตจบใหม่และประชาชนที่สนใจด้านการจัดการคุณภาพน้ำทิ้งจากระบบเลี้ยงปลาน้ำจืดเศรษฐกิจนำไปสู่มาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน จำนวน 100,000 บาท 2563 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. น้ำเพชร  ประกอบศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี  วิระสิทธิ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-63-4. การบูรณาการองค์ความรู้ที่เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชนและสนองงานโครงการในพระราชดำริ
เป้าประสงค์ FT-63-4.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด FT-63-4-1 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่นๆ ของคณะ
กลยุทธ์ FT-63-4.1.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
กลยุทธ์ FT-63-4.1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการแก่สังคมทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและให้กระทบกระเทือนสภาพแวดล้อมน้อยที่สุด วิธีการดังกล่าวเรียก "เกษตรยั่งยืน" เกษตรกรรมอินทรีย์ (organic farming) เป็นรูปแบบทางการเกษตรกรรมวิธีหนึ่ง ที่นำไปสู่การพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืนเช่นเดียวกับการเกษตรผสมผสาน (integrated farming) นำมาซึ่งกระบวนการผลิตสัตว์น้ำอินทรีย์ที่ระบบการผลิตทั้งหมดต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อม รักษาสมดุลของธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีระบบการจัดการนิเวศวิทยาที่คล้ายคลึงกับธรรมชาติและหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือสารสังเคราะห์เพื่อให้ได้ผลผลิตสัตว์น้ำตามมาตรฐานแล้ว จะต้องมีการถูกตรวจสอบและรับรองการผลิตเกษตรอินทรีย์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์และการจัดการผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์เพื่อนำไปสู่การรับรองที่น่าเชื่อถือได้จากสถาบันของรัฐ/เอกชนหรือองค์กรที่น่าเชื่อถือในท้องถิ่นเพื่อให้ได้ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ประมงอินทรีย์ที่ปลอดภัย เหมาะสมต่อการบริโภค การที่จะประสบผลสำเร็จในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จะต้องมีการจัดการเลี้ยงและการจัดการน้ำที่ดี อันได้แก่ การเตรียมบ่อที่ดี มีการทำความสะอาดบ่อและเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ การใช้ลูกพันธุ์ที่แข็งแรงมาเลี้ยงในความหนาแน่นที่เหมาะสม การจัดการคุณภาพน้ำที่ดี การจัดการปลาที่เป็นโรค เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ใช้ยาและสารเคมีต้องห้าม การให้อาหารที่ดีมีคุณภาพสูง ประเทศไทยในฐานะที่เป็นผู้ผลิตและส่งออกสินค้าอาหารสัตว์น้ำที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก มีความเหมาะสมและมีศักยภาพที่จะเป็นแหล่งผลิตอาหารในระบบสัตว์น้ำอินทรีย์เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติ และมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่ต้องสร้างมาตรฐานการผลิตสัตว์น้ำอินทรีย์ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลเพื่อผลักดันให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อยกระดับการจัดการคุณภาพน้ำทิ้งจากระบบเลี้ยงปลาน้ำจืดเศรษฐกิจนำไปสู่มาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์ที่ยั่งยืน
เพื่อนำองค์ความรู้จากการบริการวิชาการบูรณาการเข้ากับพันธกิจด้านการเรียนการสอน/อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องของคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกรอินทรีย์ กลุ่มผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ กลุ่มผู้บริโภค ชุมชน นักเรียน นักศึกษา เยาวชน ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้ว่างงาน บัณฑิตจบใหม่และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพน้ำทิ้งจากระบบเลี้ยงปลาน้ำจืดเศรษฐกิจนำไปสู่มาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์
KPI 1 : จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อยกระดับการจัดการคุณภาพน้ำทิ้งจากระบบเลี้ยงปลาน้ำจืดเศรษฐกิจนำไปสู่มาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์ที่ยั่งยืน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ครั้ง 2
KPI 2 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : นำองค์ความรู้จากการบริการวิชาการบูรณาการเข้ากับพันธกิจด้านการเรียนการสอน/อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องของคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 วิชา/กิจกรรม 1
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 คน 70
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 ล้านบาท 0.1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกรอินทรีย์ กลุ่มผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ กลุ่มผู้บริโภค ชุมชน นักเรียน นักศึกษา เยาวชน ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้ว่างงาน บัณฑิตจบใหม่และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพน้ำทิ้งจากระบบเลี้ยงปลาน้ำจืดเศรษฐกิจนำไปสู่มาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
1.เตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน/จัดทำคู่มือ/เอกสารประกอบการดำเนินกิจกรรม
2. สำรวจพื้นที่เพื่อติดต่อประสานงาน เกษตรกรเป้าหมาย/เจ้าหน้าที่/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3. จัดเตรียมวัสดุ-อุปกรณ-สารเคมี, เตรียมห้องปฏิบัติการมหาวิทยาลัยแม่โจ้และบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำสาธิต ที่ต้องใช้ในกิจกรรมบริการวิชาการ
4. ลงปฏิบัติงานในพื้นที่เป้าหมายเพื่อสำรวจ ติดตามและเก็บตัวอย่างน้ำตรวจสอบจากแหล่งเลี้ยง พันธุ์ปลา การสัมภาษณ์ฃ้อมูลเกษตรกร และให้คำปรึกษา/แนะนำวิธีจัดการน้ำทิ้ง/น้ำเสียและการจัดการ เป็นต้น
5. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ/สาธิตและให้การให้บริการวิชาการกับเกษตรกร/ กลุ่มเป้าหมาย/ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง/ ผู้ที่สนใจ
6. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ผล สรุป เขียนรายงานและจัดส่งรายงานฉบับสมบูรณ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.น้ำเพชร  ประกอบศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คนๆ ละ 30 บาท 4 มื้อ เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คนๆ ละ 100 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถเพื่อลงพื้นที่ทำกิจกรรม/ให้บริการตรวจวัดคุณภาพน้ำ/การจัดการคุณภาพน้ำ จำนวน 5 วัน (ครั้ง) ๆละ 1 คัน ๆละ 2,500 บาท/วัน เป็นเงิน 12,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 3 คน ๆละ 1 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ปฏิบัติ จำนวน 4 คน ๆละ 2 ชั่วโมง ๆละ 300 บาท 2 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 1 คน ๆละ 1 ชั่วโมง ๆละ 1,200 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น อาหารปลา/กบ, ผ้ายางพีอี, สวิง, ถังน้ำ ฯลฯ เป็นเงิน 32,900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 32,900.00 บาท 0.00 บาท 32,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา, แฟ้มกระดุม, กระดาษฟรุ๊ป, โฟม ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น สารเคมีวิเคราะห์หาปริมาณแอมโมเนีย, ไนไตรท์, ไนเตรท, ฟอสฟอรัส, BOD และ ชุดวิเคราะห์ E.coli ฯลฯ เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์, แผ่นDVD, ปากกาเขียนแผ่น ฯลฯ เป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและประปา เช่น ปลั๊ก, สายไฟ, ท่อพีวีซี ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
พื้นที่เป้าหมายไม่เป็นไปตามที่คาดไว้
กลุ่มเป้าหมายมีเวลาไม่ตรงกับผู้ปฏิบัติงาน ทำให้การรับ-ส่งข้อมูลต่างๆ ล่าช้า
จำนวนผู้เข้าร่วมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เพิ่มพื้นที่เป้าหมายนอกเขต พื้นที่ตามเป้าหมาย เช่น อ.ดอยหล่อ และพื้นที่อื่นที่สนใจ เป็นต้น
ติดต่อประสานงานกลุ่มเป้าหมายไว้ล่วงหน้า เพิ่มเครือข่ายผู้ปฏิบัติงาน เช่น กรมประมง
เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้นและมีความต่อเนื่อง/ประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่าย เช่น กรมประมง เทศบาล เป็นต้น
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล