15718 : โครงการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิตพืชอินทรีย์ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 31/3/2563 15:08:30
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
07/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจ ในจังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2563 80,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ประกิตต์  โกะสูงเนิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 3.1.1 จำนวนกิจกรรม/โครงการที่ให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ต่อสังคม
กลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรม/โครงการ ที่ให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ต่อสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

แม่น้ำสายหลักที่เป็นเหมือนกระดูกสันหลังของประเทศไทย คือแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งเป็นการรวมกันของแม่น้ำสายหลัก 4 สาย คือ ปิง วัง ยม และ น่าน ซึ่งทั้งสี่สายมีต้นกำเนิดอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการใช้สารเคมีจำนวนมาก ซึ่งส่วนที่เหลือ หรือส่วนที่สามารถชะล้างได้จะถูกชะล้างลงสู่แม่น้ำสายหลักทั้งสี่สาย และไหลไปปนเปื้อนรวมกันในแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งถูกนำไปใช้อุปโภค บริโภค กันทั่วทั้งประเทศ ทำให้คนที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมีได้รับสารพิษตกค้างจากการทำการเกษตรในพื้นที่ภาคเหนืออย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ การใช้สารเคมีของเกษตรกรในภาคเหนือในปัจจุบันมีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี และสารเคมีก็อันตรายและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากความเคยชินของเกษตรกรที่ได้รับคำแนะนำจากร้านขายสารเคมี และอีกประการหนึ่งความรู้ของเกษตรกรเกี่ยวกับอันตรายและความรู้พื้นฐานที่มีน้อยส่งผลให้มีการใช้สารเคมีมากขึ้น ซึ่งนอกจากเป็นอันตรายแล้วยังทำให้ต้นทุนการผลิตของเกษตรกรมากขึ้นด้วย ดังนั้น จึงมีความจำเป็นเร่งด่วนในการให้ความรู้แก่เกษตรกรในกระบวนการ ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีทางเกษตร โดยการพัฒนาทั้งกระบวนการ ตั้งแต่ การพัฒนาคุณภาพพื้นที่ดิน การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์พืช การจัดการศัตรูพืชโดยใช้สารชีวภัณฑ์ การพัฒนาสู่มาตรฐานการผลิตอาหารปลอดภัย ตั้งแต่ GAP พัฒนาไปสู่ระบบการผลิตแบบอินทรีย์ ซึ่งเป็นระบบการผลิตที่ปลอดภัย และสามารถลดต้นทุนการผลิตได้อย่างยั่งยืน ซึ่งในการผลิตพืชจะมีระบบการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นหลัก ซึ่งเมื่อปุ๋ยเคมีมีราคาแพง ทำให้มีปัญหาเรื่องต้นทุนการผลิต ทำให้เป็นหนี้สิน เมื่อมองประโยชน์ของการอนุรักษ์ดินแล้ว ชุมชนสามารถปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับการทำการเกษตรกรรมได้ โดยการใส่อินทรียวัตถุลงสู่ดิน ซึ่งปุ๋ยหมักเป็นสารอินทรีย์ที่มีความสำคัญมาก สามารถผลิตได้เอง เป็นการใช้เศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์ และสามารถเพิ่มผลผลิตจากดินได้ ดังนั้น การส่งเสริมการผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือนดินเพื่อนำปุ๋ยมูลไส้เดือนดินไปใช้ในการเกษตรกรรม เพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ของดิน และเป็นการปรับสภาพโครงสร้างดินให้เหมาะสมกับการผลิตพืชด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ที่ช่วยเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชอินทรีย์แก่เกษตรกรในภาคเหนือตอนบน
2 เพื่อช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า และต้นทุนการผลิตพืชอินทรีย์แก่เกษตรกรในภาคเหนือตอนบน
3 เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้การผลิตปัจจัยสนับสนุนการเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิตพืชอินทรีย์ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของเกษตรกรสามารถลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชอาหารปลอดภัยได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.08 ล้านบาท 0.08
KPI 8 : ร้อยละของเกษตรกรสามารถนำความรู้ไปดำเนินการต่อยอด ขยายจำนวนไส้เดือนต่อได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : จำนวนศูนย์เรียนรู้การผลิตปัจจัยสนับสนุนการเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ศูนย์เรียนรู้ 1
KPI 10 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิตพืชอินทรีย์ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
ชื่อกิจกรรม :
ศูนย์ผลิตปัจจัยสนับสนุนการเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศูนย์ผลิตปัจจัยสนับสนุนการเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ประกิตต์  โกะสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 31,100 บาท
2. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 46,100.00 บาท 0.00 บาท 46,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 46100.00
ชื่อกิจกรรม :
การผลิตปัจจัยสนับสนุนการเกษตรอินทรีย์
กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การผลิตและการใช้ปุ๋ยมูลไส้เดือนในการผลิตพืชอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิตพืชอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ประกิตต์  โกะสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางกาญจนา  โกะสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,450 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 5,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,700.00 บาท 0.00 บาท 7,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11300.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การผลิตและการใช้ปุ๋ยหมักในการผลิตพืชอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิตพืชอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ประกิตต์  โกะสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางกาญจนา  โกะสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,450 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 5,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,700.00 บาท 0.00 บาท 7,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11300.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การผลิตและการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบอินทรีย์ในการผลิตพืชอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิตพืชอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ประกิตต์  โกะสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางกาญจนา  โกะสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,450 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 5,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,700.00 บาท 0.00 บาท 7,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล