15709 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการภาคเหนือตอนบนสู่ Startup ด้วย Product Champion
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/3/2563 13:42:06
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/03/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  160  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ใน 4 จังหวัด ได้แก่ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2563 5,500,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. น้ำฝน  รักประยูร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริหารจัดการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ยกเลิก
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 3.1.5 จำนวนครั้ง ของการออกหน่วยบริการวิชาการ หรือการให้คำปรึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้ แก่ ผู้ประกอบการ / กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/ ประชาชน
กลยุทธ์ ส่งเสริมและสับสนุนการออกหน่วยบริการวิชาการ หรือการให้คำปรึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้ แก่ ผู้ประกอบการ / กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/ ประชาชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเทคโนโลยีสำหรับการตลาดและสื่อโฆษณาดิจิทัลใหม่ ๆ ต่างสร้างความเปลี่ยนแปลงในวงการตลาดอยู่ไม่น้อย ถือว่าเป็นการก้าวถึงยุคที่การซื้อของออนไลน์เป็นเรื่องธรรมชาติประกอบกับเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โอกาสในการปิดการขายผ่านข้อเสนอเฉพาะบุคคลตรงตามพิกัดสถานที่และความต้องการผ่านมือถือ ถือเป็นหนึ่งในวาระสำคัญของการตลาดในยุคใหม่นี้ ที่ทำให้ธนาคาร ร้านค้าปลีก หรือแม้กระทั่งผู้ประกอบการแนวใหม่ หรือเรียกว่า “Startup” โดย Steve Blank ผู้ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งสตาร์ทอัพ ให้คำนิยาม startup ไว้ว่า “a startup is an organization formed to search for a repeatable and scalable business model” แปลได้ว่า “สตาร์ทอัพคือกิจการที่ตั้งขึ้นเพื่อค้นหาโมเดลธุรกิจ (business model) ที่ทำซ้ำได้ (repeatable) และขยายตัวได้ (scalable)” ดังนั้น หัวใจสำคัญของ “สตาร์ทอัพ” อยู่ที่ “โมเดลธุรกิจ (business model)” ซึ่งก็หมายถึง รูปแบบวิธีการดำเนินกิจการของบริษัทในการสร้างรายได้ เช่น เว็บวงใน (www.wongnai.com) เปิดให้คนมีรีวิวร้านอาหารจนกลายเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการกินอาหารและหารายได้จากการลงโฆษณาของร้านอาหาร (และอาจจะมีอื่นๆตามมาอีก) โดยทั่วไปเราจะเห็นว่าโมเดลธุรกิจของสตาร์ทอัพมักจะมีรูปแบบแตกต่างไปจากธุรกิจที่เคยมีมาในอดีต และมักจะมีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสร้างธุรกิจ (โดยเฉพาะเทคโนโลยีด้าน ICT) เช่น GRAB taxi ซึ่งเป็น App เรียกแท็กซี่เพื่อแก้ปัญหาของความยุ่งยากในการต้องออกไปรอแท็กซี่ของคนในเอเชีย บริษัทจะได้กำไรจากการเก็บค่าบริการเพิ่มเติม ต้องหันมาสร้างยอดขายผ่านเทคโนโลยี เพื่อการค้ารูปแบบใหม่ ๆ และกระตุ้นความซบเซาจากเศรษฐกิจให้มีสีสันยิ่งขึ้น อีกทั้งไม่ใช่เรื่องแปลกที่เครือข่ายทางสังคม (Social Media) เปรียบเสมือนหน้าร้านของหลายตรายี่ห้อ ไม่ว่าผู้บริโภคจะมีปัญหาหรือต้องการติดต่ออะไร ก็จะทำผ่านสื่อโซเชียลเป็นหลัก ที่ผ่านมาข้อมูลเหล่านี้ยังไม่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์อย่างสมบูรณ์เพื่อสร้างโอกาสทางการตลาดใหม่ ๆ การวิเคราะห์บทสนทนาและการพูดถึงเกี่ยวกับตรายี่ห้อผ่านสื่อโซเชียลต่าง ๆ จะมีนัยยะต่อการพัฒนาการตลาดทั้งในแง่การพัฒนาสินค้าบริการลูกค้าสัมพันธ์ ไปจนถึงการมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์เนื้อหาทางการตลาดใหม่ที่ตอบโจทย์ชีวิตจริงในชีวิตผู้บริโภค โดยทิศทางที่มาแรง คือ การทำการตลาดในแนวทางที่ไม่ให้ผู้บริโภครู้สึกว่ากำลังถูกโฆษณา การเพิ่มขึ้นของประชากรในภูมิภาคที่กำลังพัฒนา จะทำให้เกิดตลาดที่มีขนาดใหญ่และมีศักยภาพ โดยเฉพาะประเทศในแถบตะวันออก อาทิเช่น อินเดีย จีน เกาหลีใต้ และกลุ่มประเทศอาเซียน เป็นต้น ขณะที่สังคมของประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำหลายประเทศ กำลังเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุ ก่อให้เกิดโอกาสและตลาดใหม่ทางธุรกิจ สินค้าและบริการที่คำนึงถึงชีวิตและสุขภาพทวีความสำคัญมากขึ้น ดังนั้นการผลิตสินค้าและบริการในตลาดโลกจำเป็นต้องเปลี่ยนแนวทางจากความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจไปสู่การขยายตัวทางธุรกิจที่เน้นการเติบโตแบบยั่งยืน การตลาดที่คำนึงถึงสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ถือเป็นประเด็นสำคัญในการขับเคลื่อนการตลาดในอนาคต ผนวกกับเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้นักการตลาดจำเป็นต้องออกแบบกลยุทธ์ วิธีการผลิต และนวัตกรรมที่สร้างสรรค์สำหรับผลิตภัณฑ์ ข้อมูลข่าวสารที่เคลื่อนย้ายอย่างรวดเร็วเพียงปลายนิ้วสัมผัส ไม่ว่าจะอยู่มุมใดของโลก ทำให้การทำการตลาดจำเป็นต้องพัฒนารูปแบบ วิธีการในการเข้าถึงลูกค้าที่หลากหลาย กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด แพร่ น่าน พะเยา และเชียงราย ซึ่งมีความโดดเด่นด้านทุนทางวัฒนธรรม อาทิ งานหัตถกรรม เช่น ผ้าทอ จักสาน แกะสลัก และศิลปินพื้นบ้านที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของพื้นถิ่น แต่ปัญหาของกลุ่มจังหวัดฯ คือ มีอัตลักษณ์ของศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว แต่กลับขาดเอกลักษณ์ของตราสินค้า กล่าวคือ สินค้าประเภทเดียวกันมีความคล้ายคลึงกันหมด ไม่มีความแตกต่างที่สร้างจุดเด่นให้สินค้าของผู้ประกอบการแต่ละรายได้ ไม่เกิดมูลค่าเพิ่มของสินค้าแต่ละประเภท ด้วยเหตุนี้ จึงต้องดึงศักยภาพด้านความคิดสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการในพื้นที่ที่มีกว่า 1.6 แสนคน ออกมาและพัฒนาต่อยอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาพื้นที่เชิงสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ Thailand 4.0 ในการยกระดับประเทศสู่การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value-based Economy) ให้สอดคล้องกับการตลาดในอนาคตที่กำลังจะขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืนที่มีการแข่งขันกันอย่างเข้มข้น และผู้บริโภคจะทวีความสำคัญมิใช่เป็นเพียงผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าหรือบริการไปใช้เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึง ความรู้สึกนึกคิดหรือสิ่งที่ผู้บริโภคมีต่อบริษัทผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือเรียกว่า เป็นการตลาดยุคที่สร้างค่านิยมทางจิตใจของผู้บริโภคให้ผูกพันกับตรายี่ห้อของสินค้าและบริษัท (Values-Driven Era, Human Centric Era) โดยให้คุณค่าของตรายี่ห้อเป็นตัวขับเคลื่อนในการทำตลาด โดยตรายี่ห้อที่มีคุณค่าต่อลูกค้านั้นนอกจากจะเป็นตรายี่ห้อที่มีสินค้าและบริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าแล้ว ยังต้องใส่ใจรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อบ่มเพาะผู้ประกอบการภาคเหนือตอนบนเข้าสู่ Startup
2. เพื่อยกระดับขีดความสามารถธุรกิจท้องถิ่นที่มีศักยภาพเข้าสู่ Product Champion
3. เพื่อสร้างเครือข่ายธุรกิจท้องถิ่นเข้าสู่ Supply Chain ของธุรกิจใหญ่ได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการภาคเหนือตอนบนสู่ Startup ด้วย Product Champion
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5500000 บาท 5500000
KPI 2 : จำนวนผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นต้นแบบจังหวัด (Product Champion)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 3 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนครั้งของเวทีเสวนาผู้ประกอบการสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อสร้างเครือข่าย/จับคู่ธุรกิจสู่ห่วงโซ่มูลค่าของธุรกิจใหญ่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
160 คน 160
KPI 7 : ร้อยละความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการภาคเหนือตอนบนสู่ Startup ด้วย Product Champion
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 โครงการการพัฒนาผู้ประกอบการสู่ Startup
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 โครงการการคัดเลือกผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์สู่ Startup (Early Stage)
กิจกรรมย่อยที่ 1.1.1 โครงการประเมินศักยภาพผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 6 คน ๆ ละ 5 วัน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 28,800 บาท
2. ค่าที่พัก จำนวน 6 คน ๆ ละ 5 คืน ๆ ละ 1,000 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 90,000 บาท
3. ค่าที่พักสำหรับนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน ๆ ละ 5 คืน ๆ ละ 400 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 12,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 6วัน ๆ ละ 2,800 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 67,200 บาท
5. ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อวิดีทัศน์การคัดเลือกผลิตภัณฑ์แต่ละจังหวัด จำนวน 4 จังหวัด ๆ ละ 50,000 บาท เป็นเงิน 200,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 398,000.00 บาท 0.00 บาท 398,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน ๆ ละ 5 วัน ๆ ละ 200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 406000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 1.2 โครงการ StartUp Mentor

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 6 คนๆ ละ 5 วันๆ ละ 240 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 28,800 บาท
2. ค่าที่พัก จำนวน 6 คนๆ ละ 4 คืนๆ ละ 1,000 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 72,000 บาท
3. ค่าที่พักสำหรับนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คนๆ ละ 4 คืนๆ ละ 400 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 9,600 บาท
4. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆ ละ 5 วันๆ ละ 2,800 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 56,000 บาท
5. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์พร้อมขาตั้ง ขนาด 0.6x1.6 เมตร จำนวน 2 ป้ายๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
6. ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ จำนวน 40 เล่ม ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
7. ค่าจ้างเหมาทำสื่อวิดีทัศน์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์สู่ Product Champion จำนวน 40 สื่อๆ ละ 8,000 บาท เป็นเงิน 320,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 172,200.00 บาท 320,000.00 บาท 492,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน ๆ ละ 5 วัน ๆ ละ 200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 500200.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์สู่ Product Champion
กิจกรรมย่อยที่ 2.1 โครงการประกวด Product Champion League

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าที่พักสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 4 คนๆ ละ 1 คืนๆ ละ 750 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 9,000 บาท
2. ค่าที่พักสำหรับนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆ ละ 1คืนๆ ละ 400 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,800 บาท
3. ค่าเบี้ยเลี้ยงสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 4 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 240 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 3,840 บาท
4. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆ ละ 2 วันๆ ละ 2,800 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 22,400 บาท
5. ค่าจ้างเหมาจัดมหกรรมการแสดงสินค้าและการประกวด Product Champion League ระดับจังหวัด จำนวน 4 งานๆ ละ 363,250 บาท เป็นเงิน 1,453,000 บาท
6. ค่าจ้างเหมาจัดทำบอร์ดแสดงผลงานผู้เข้ารอบ จำนวน 40 บอร์ดๆ ละ 10,000 บาท เป็นเงิน 400,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,493,040.00 บาท 400,000.00 บาท 1,893,040.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1896240.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 2.2 โครงการ Organic Transformation
กิจกรรมย่อยที่ 2.2.1 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่ Supply Chain ของธุรกิจใหญ่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเบี้ยเลี้ยงสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 3 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 720 บาท
2. ค่าที่พักสำหรับวิทยากร จำนวน 5 คนๆ ละ 1 คืนๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
3. ค่าที่พักสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 3 คนๆ ละ 1 คืนๆ ละ 750 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท
4. ค่าที่พักสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 40 คนๆ ละ 1 คืนๆ ละ 450 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
5. ค่าที่พักสำหรับนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆ ละ 1 คืนๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
6. ค่าอาหารกลางวัน (จัดในสถานที่เอกชน) จำนวน 40 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
7. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จัดในสถานที่เอกชน) จำนวน 40 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
8. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับวิทยากรและผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 2 คันๆ ละ 2 วันๆ ละ 2,800 บาท เป็นเงิน 11,200 บาท
9. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 4 คันๆ ละ 2 วันๆ ละ 2,800 บาท เป็นเงิน 22,400 บาท
10. ค่าเช่าสถานที่ จำนวน 1 วันๆ ละ 5,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
11. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอภิปรายเสวนา จำนวน 40 คนๆ ละ 1 ชุด ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
12. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ พร้อมขาตั้ง ขนาด 0.6*1.60 เมตร จำนวน 6 ป้าย ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
13. ค่าจ้างเหมาออกแบบตราสัญลักษณ์และจัดทำบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ต้นแบบ จำนวน 40 ผลิตภัณฑ์ๆ ละ 5,000 บาท เป็นเงิน 200,000 บาท
14. ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อวิดีทัศน์การอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการ Organic Transformation จำนวน 1 งาน ๆ ละ 35,000 บาท เป็นเงิน 35,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 124,970.00 บาท 200,000.00 บาท 324,970.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปราย เสวนา (หน่วยงานของรัฐ) จำนวน 4 คนๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปราย เสวนา (หน่วยงานเอกชน) จำนวน 1 คนๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 347370.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 2.2.2 โครงการติดตามและให้คำปรึกษาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ลู่ Supply Chain ของธุรกิจใหญ่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 6 คน ๆ ละ 3 วัน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 17,280 บาท
- ค่าที่พัก จำนวน 6 คน ๆ ละ 3 คืน ๆ ละ 1,000 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 54,000 บาท
- ค่าที่พักสำหรับนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 คืน ๆ ละ 400 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 3,328 บาท
- ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 4 วัน ๆ ละ 2,800 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 44,800 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 119,408.00 บาท 0.00 บาท 119,408.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 119408.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 3 โครงการเสวนาเพื่อสร้างเครือข่ายธุรกิจท้องถิ่นที่มีศักยภาพให้เข้าสู่ Supply Chain ของธุรกิจใหญ่ได้
กิจกรรมย่อยที่ 3.1 โครงการประกวด Product Champion "Champ of the Champ"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเบี้ยเลี้ยงสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 7 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 1,680 บาท
2. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 2 คันๆ ละ 1 วันๆ ละ 2,800 บาท เป็นเงิน 5,600 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดมหกรรมสินค้าและการประกวด Product Champion "Champ of the Champ" ระดับภูมิภาค จำนวน 1 งานๆ ละ 489,000 บาท เป็นเงิน 489,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อวีดีทัศน์ จำนวน 1 งานๆ ละ 35,000 บาท เป็นเงิน 35,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 42,280.00 บาท 489,000.00 บาท 531,280.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 531280.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 3.2 โครงการเวทีเสวนาเพื่อสร้างเครือข่ายธุรกิจสู่ Supply Chain

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าที่พักสำหรับวิทยากร จำนวน 2 คนๆ ละ 1 คืนๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดโครงการเวทีเสวนาเพื่อสร้างเครือข่ายธุรกิจสู่ Supply Chain ระดับภูมิภาค จำนวน 1 งานๆ ละ 281,400 บาท เป็นเงิน 281,400 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารองค์ความรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างเครือข่ายธุรกิจสู่ Supply Chain กรณีศึกษาภาคเหนือตอนบน 2 จำนวน 300 เล่มๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 75,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 358,400.00 บาท 0.00 บาท 358,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปราย เสวนา (บุคลากรภาครัฐ) จำนวน 2 คนๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 365600.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 การบริหารจัดการโครงการ
กิจกรรมย่อยที่ 4.1 ประสานงานและเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (ค่าพาหนะ) จำนวน 800 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 4,072 บาท
- ค่าที่พักสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 6 คน ๆ ละ 1 คืน ๆ ละ 750 บาท จำนวน 12 ครั้ง เป็นเงิน 54,000 บาท
- ค่าเบี้ยเลี้ยงสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 6 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 12 ครั้ง เป็นเงิน 34,560 บาท
- ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2,800 บาท จำนวน 12 ครั้ง เป็นเงิน 67,200 บาท
- ค่าจ้างเหมาผู้ประสานงาน เดือน ละ 15,000 บาท จำนวน 5 เดือน เป็นเงิน 75,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 234,832.00 บาท 0.00 บาท 234,832.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 234832.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 4.2 บริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาผู้ประสานงานโครงการในการจัดทำเอกสารและรายงานความก้าวหน้าของโครงการรายเดือนและรายไตรมาส จำนวน 1 คน ๆ ละ 8 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 120,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาติดตามผลโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการสินค้าเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือตอนบน2 สู่ Startup ด้วย Product Champion จำนวน 1 งานๆ ละ 262,000 บาท เป็นเงิน 262,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 382,000.00 บาท 382,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 175,980 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 166,570 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 342,550.00 บาท 0.00 บาท 342,550.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 724550.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 1.1.2 โครงการคัดเลือกผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าที่พักสำหรับวิทยากร จำนวน 5 คน ๆ ละ 1 คืน ๆ ละ 1,000 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 20,000 บาท
2. ค่าที่พักสำหรับนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คน ๆ ละ 1 คืน ๆ ละ 400 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 6,400 บาท
3. ค่าที่พักสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 2 คน ๆ ละ 1 คืน ๆ ละ 750 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 6,000 บาท
4. ค่าเบี้ยเลี้ยงสำหรับผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 2 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 1,920 บาท
5. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 32,000 บาท
6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 50 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 16,000 บาท
7. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2,800 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 22,400 บาท
8. ค่าเช่าสถานที่ จำนวน 1 วัน ๆ ละ 5,000 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 20,000 บาท
9. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอภิปรายเสวนา จำนวน 40 คน ๆ ละ 1 ชุด ๆ ละ 70 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 11,200 บาท
10. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ พร้อมขาตั้ง ขนาด 0.6*1.60 เมตร จำนวน 6 ป้าย ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
11. ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อวิดีทัศน์ จำนวน 4 จังหวัด ๆ ละ 35,000 บาท เป็นเงิน 140,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 284,920.00 บาท 0.00 บาท 284,920.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปรายเสวนา (หน่วยงานของรัฐ)จำนวน 4 คนๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 57,600 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปรายเสวนา (หน่วยงานเอกชน) จำนวน 1 คนๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 28,800 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 89,600.00 บาท 0.00 บาท 89,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 374520.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการวางแผนการดำเนินงาน คือ สถานการณ์ระบาดของโรคโควิด ส่งผลให้การดำเนินงานที่ตั้งระยะเวลาไว้ ได้เลื่อนออกไป งานที่วางแผนการดำเนินงานไว้ต้องล่าช้าออกไปอย่างน้อย 2 เดือน
ด้านการบริหาร/จัดสรรทรัพยากรการเงิน ระเบียบการเบิกจ่ายไม่ชัดเจน และระบบการเบิกจ่ายไปยังบุคคลภายนอกที่จ้างเหมาล่าช้า เช่น เรื่องค่ารถตู้ ค่าจ้างเหมาจัดทำงานต่าง ๆ ระบบการทำ E-bidding มีความล่าช้าเนื่องจากบุคลากรที่สนับสนุนในเรื่องการจัดทำ E-bidding ยังไม่มีความชำนาญในบางงานที่เกิดขึ้น ได้รับอนุมัติงบประมาณล่าช้า โดยได้รับอนุมัติงบประมาณในช่วงเดือนมีนาคม 2563ด้านการวางแผนการดำเนินงาน คือ สถานการณ์ระบาดของโรคโควิด ส่งผลให้การดำเนินงานที่ตั้งระยะเวลาไว้ ได้เลื่อนออกไป งานที่วางแผนการดำเนินงานไว้ต้องล่าช้าออกไปอย่างน้อย 2 เดือน
ด้านการบริหาร/จัดสรรทรัพยากรบุคคล เนื่องจากคณะทำงานมีภารกิจหลัก คือ การสอน จึงทำให้การลงพื้นที่ทำงานกระทบกับการจัดการเรียนการสอน แต่อย่างไรก็ตาม คณะทำงานได้ทำการมอบหมายงาน การสอนออนไลน์ให้กับนักศึกษาชดเชยในช่วงวันเวลาที่ตรงกับการเรียนการสอน นอกจากนี้การวางแผนทำงานจะเน้นการทำงานในช่วงวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ อาจทำให้การลงพื้นที่ต้องสลับกันในการทำงาน
ด้านการดำเนินงานตามแผน มีการดำเนินงานตามแผนงาน เพียงแต่ระยะเวลาที่ขยับออกไปเนื่องจากติดสถานการณ์โควิด นอกจากนี้ในการจ้างนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน พบว่า ไม่สามารถจ้างได้เนื่องจากนักศึกษาติดภาระการเรียนจึงไม่สามารถลงทำงานในพื้นที่กับโครงการได้
ด้านการประสานงาน การประสานงานกับหน่วยงานราชการมีความล่าช้า เนื่องจากมีการประสานข้ามจังหวัด ทำให้การติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ทำ MOU เพื่อร่วมกิจกรรมต่างๆ ล่าช้า และบางหน่วยงานติดภารกิจหลักที่ต้องดำเนินงานทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมได้ในทุกกิจกรรม
ด้านนโยบาย การสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยมีการสนับสนุนให้คณาจารย์ได้ทำงานในลักษณะบริการวิชาการ แต่อย่างไรก็ตามยังติดขัดในด้านหน่วยงานสนับสนุนที่มีการทำงานที่ล่าช้าในส่วนของการเบิกจ่าย ทำให้ในบางครั้งผู้รับผิดชอบโครงการต้องสำรองเงินเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานก่อน หากมีการปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นจะทำให้การทำงานเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาของสถานการณ์โควิด ทางผู้รับผิดชอบโครงการต้องติดตามข่าวสารการประกาศจากหน่วยงานของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้วางแผนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐในแต่ละจังหวัดว่ามีมาตรการที่แตกต่างกันอย่างไรจัดเตรียมเอกสารและประชุมวางแผนการดำเนินงานใหม่ ในกรณีที่สถานการณ์โรคระบาดไม่ดีขึ้น
การบริหารจัดสรรทรัพยากรการเงิน ควรมีคู่มือหรือการเบิกจ่ายไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน เนื่องจากต้องโทรถามทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่อยู่เสมอ แก้ไขปัญหาความล่าช้าในการเบิกจ่ายจ้างเหมาเนื่องจากผู้รับจ้างมักติดตามทวงการเบิกจ่ายภายหลังการส่งมอบงานแล้ว แจ้งระยะเวลาการเบิกจ่ายที่แน่นอนให้กับผู้รับผิดชอบโครงการ ส่วนในด้านการทำระบบ e-bidding ควรมีการอบรมเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการร่าง TOR การลงระบบ เพื่อจะทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การจัดสรรทรัพยากรบุคคล ควรมีการวางแผนงานร่วมกัน เช่น มีการประชุมผ่านออนไลน์ หรือการประชุมเพื่อจัดทำตารางกำหนดการลงพื้นที่ให้กับคณะทำงาน และต้องมีการบูรณาการศาสตร์ความรู้หลายๆ สาขาวิชาการด้วยในการทำงาน
การประสานงาน ควรมีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานราชการอย่างน้อยล่วงหน้า 2 สัปดาห์ในการดำเนินกิจกรรม
การประสานงาน ควรมีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานราชการอย่างน้อยล่วงหน้า 2 สัปดาห์ในการดำเนินกิจกรรม
การสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย ในส่วนของหน่วยงานสายสนับสนุน ควรมีความชำนาญเฉพาะด้านและให้คำปรึกษาได้อย่างถ่องแท้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล