15705 : โครงการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยนำมาแปรรูปด้วยวิธีการอบแห้ง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.ปวริศา ศรีสง่า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/4/2563 14:13:59
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/05/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ผู้ประกอบการและผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2563 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ มุกริน  หนูคง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 4.2.2 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมเครือข่ายอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
กลยุทธ์ พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นให้ทันสมัย เพื่อให้เอื้อสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย เช่น ผู้สูงอายุ ผู้มีรายได้น้อย และคนรุ่นใหม่ เป็นต้น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นเมืองเกษตรกรรมที่ประชากรส่วนใหญ่ปลูกผัก ผลไม้และพืชสมุนไพรเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและประเทศชาติ แต่อย่างไรก็ตามในบางฤดูกาลที่ผลผลิตทางการเกษตรล้นตลาดส่งผลให้ให้ราคาผลผลิตตกต่ำ ผลผลิตเกิดการเน่าเสียเนื่องจากจำหน่ายไม่ทันจนเป็นสาเหตุให้เกิดเกษตรกรเกิดสภาวะขาดทุน ในการแก้ปัญหานี้ การอบแห้งผลผลิตทางการเกษตรเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้เกษตรกรประสบปัญหาสภาวะการขาดทุนน้อยลง เนื่องจากการอบแห้งเป็นวิธีการลดความชื้นของผลิตภัณฑ์ลงให้อยู่ในระดับที่จุลินทรีย์ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ จึงเป็นการช่วยยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ได้นานขึ้น สามารถส่งไปขายยังต่างประเทศโดยไม่เกิดการเน่าเสียและบางผลิตภัณฑ์ต้องผ่านกระบวนการอบแห้งเช่น การผลิตชาจากพืชสมุนไพร ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าให้ผลิตผลทางการเกษตร ทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น การอบแห้งผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแต่ละชนิดเพื่อให้ได้คุณภาพที่ดีนั้นต้องใช้สภาวะในการอบแห้งที่แตกต่างกัน เนื่องจากองค์ประกอบทางเคมีและลักษณะทางกายภาพของผลผลิตนั้นมีความแตกต่างกัน ดังนั้นการให้ความรู้แก่เกษตรกรและกลุ่มประชาชนที่สนใจที่จะเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยการอบแห้งให้ทราบถึงวิธีการปฏิบัติและสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดนั้นจะช่วยทำให้ผลิตภัณฑ์อบแห้งที่ได้มีคุณภาพดีและผ่านมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด โดยกลุ่มดังกล่าวเมื่อผ่านการฝึกอบรม สามารถนำความรู้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์กับตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้และสามารถรวมตัวกันเป็นกลุ่มผู้ผลิตขนาดย่อมเพื่อเป็นสินค้าเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดอบรมการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรด้วยวิธีการอบแห้ง
เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรนำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปเพื่อให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น
เพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็งบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกร นักเรียน นักศึเกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน นักเรียน นักศึกษา ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรมีความรู้การเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรด้วยวิธีการอบแห้ง
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่นำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปเพื่อให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นด้วยวิธีการอบแห้ง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 5 : จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการอบแห้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ผลิตภัณฑ์ 3
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกร นักเรียน นักศึเกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน นักเรียน นักศึกษา ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรมีความรู้การเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรด้วยวิธีการอบแห้ง
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยนำมาแปรรูปด้วยวิธีการอบแห้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์มุกริน  หนูคง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ ป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม จำนวน 50 เล่มๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าจ้างเหมารถยนต์ รถยนต์ 2 คัน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,500.00 บาท 0.00 บาท 13,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 600 บาท 4 ชม. เป็นเงิน 2,400 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆ ละ 300 บาท 4 ชม. เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น กระเจี๊ยบ หญ้าหวาน เก็กฮวย เป็นเงิน 16,700 บาท
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ อุปกรณ์เครื่องเขียน เป็นเงิน 10,000 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิส หมึกพิมพ์ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 31,700.00 บาท 0.00 บาท 31,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล