15700 : โครงการฐานเรียนรู้ปู่ยอินทรีย์แบบไม่กลับกอง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.ปวริศา ศรีสง่า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/4/2563 10:46:53
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  800  คน
รายละเอียด  ผู้สนใจเข้าศึกษาดูงานฐานเรียนรู้ จำนวน 700 คน และผู้สนใจเข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 100 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2563 120,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์  ยอดคำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 4.2.2 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมเครือข่ายอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
กลยุทธ์ พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นให้ทันสมัย เพื่อให้เอื้อสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย เช่น ผู้สูงอายุ ผู้มีรายได้น้อย และคนรุ่นใหม่ เป็นต้น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันการจัดการขยะอินทรีย์ในชุมชนส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวอย่างเช่น การจัดการเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยวของเกษตรกร โดยทั่วไปจะจัดการด้วยวิธีการเผา ซึ่งทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น การสูญเสียความอุดมสมบูรณ์และอินทรียวัตถุในดิน การเกิดฝุ่นละออง (PM10) ในอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และการเกิดก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลทำให้เกิดปัญหาโลกร้อน เป็นต้น หรือการจัดการขยะเปียก (เศษอาหาร) ที่โดยทั่วไปจะนำไปทิ้งในถุงขยะรวมกับขยะทั่วไป ทำให้เกิดการเน่าเหม็นและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตรมีผลงานวิจัยที่สามารถนำขยะอินทรีย์จำพวกเศษพืช เศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร และเศษอาหาร มาผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ด้วยวิธีการหมักแบบไม่พลิกกลับกอง ทำให้ประหยัดแรงงานและต้นทุน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์วิธีการนี้มีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก เกษตรกรสามารถผลิตได้ปริมาณครั้งละ มาก ๆ และแล้วเสร็จภายในระยะเวลา 2 เดือน ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้เกษตรกรสามารถนำไปใช้เพื่อลดต้นทุน หรือนำไปใช้เพื่อการผลิตแบบอินทรีย์ที่นำไปสู่การสร้างมูลค่าของสินค้า รวมถึงสามารถสร้างรายได้โดยการจำหน่ายปุ๋ยที่ผลิตได้ ดังนั้นจึงควรมีฐานเรียนรู้การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกองที่สามารถให้ความรู้ การฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติตลอดทั้งปีให้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ เพื่อให้นำองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์และขยายต่อในชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้การสาธิตการผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกองและการผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบวงตาข่าย ให้แก่ชุมชนและเกษตรกรที่สนใจ เพื่อนำไปใช้ในงาน เกษตรกรรมที่ลดปุ๋ยเคมี ลดการเผาทำลายเศษพืชที่ก่อให้เกิดปัญหาหมอกควันพิษ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : - ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถลดการเผาทำลายเศษพืชที่ก่อให้เกิดปัญหาหมอกควันด้วยวิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์ - แหล่งเรียนรู้การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่กลับกอง
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.12 ล้านบาท 0.12
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ (เข้าร่วมฝึกอบรม)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 3 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
75 ร้อยละ 75
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ (ศึกษาดูงาน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
700 คน 700
KPI 7 : ผู้เข้ารับฝึกอบรมสามารถลดการเผาทำลายเศษพืชที่ก่อให้เกิดปัญหาหมอกควันด้วยวิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 8 : ปริมาณปุ๋ยหมักที่ได้หลังดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10000 กิโลกรัม 10000
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : - ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถลดการเผาทำลายเศษพืชที่ก่อให้เกิดปัญหาหมอกควันด้วยวิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์ - แหล่งเรียนรู้การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่กลับกอง
ชื่อกิจกรรม :
จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพแบบไม่พลิกกลับกองจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
- จัดส่งหนังสือราชการเชิญผู้สนใจ เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
- ฝึกอมรมและให้การสาธิตการผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่กลับกอง
- สรุปผลการดำเนินงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสนวสันต์  ยอดคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 1 คน ๆละ 600 บาท 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 4 คน ๆละ 300 บาท 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คนๆละ 200 บาท 3 วัน เป็นเงิน 3,000 บาท



ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 100 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 7,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 100 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 15,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด A4 จำนวน 90 หน้า 100 เล่มๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาทำแผ่นพับ ขนาด A4 จำนวน 1,000 แผ่น ๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 32,000.00 บาท 0.00 บาท 32,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ คลิปหนีบ แฟ้ม เป็นเงิน 5,000 บาท
-วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ แผ่น CD เป็นเงิน 5,000 บาท
-วัสดุเกษตร เช่น ค่ามูลสัตว์ ค่าฟางอัดก้อน เข่ง คราด กระสอบบรรจุปุ๋ย ฯลฯ เป็นเงิน 18,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 68400.00
ชื่อกิจกรรม :
จัดทำฐานเรียนรู้การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่กลับกอง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสนวสันต์  ยอดคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าจ้างเหมาขึ้นกองปุ๋ย ขนาด 10 ตัน ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-วัสดุเกษตร เช่น ค่ามูลสัตว์ ค่าฟางอัดก้อน เข่ง คราด กระสอบบรรจุปุ๋ย ฯลฯ เป็นเงิน 39,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 39,600.00 บาท 0.00 บาท 39,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 51600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล