15693 : การถ่ายทอดองค์ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษพลาสติก
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
ดร.ณิชมน ธรรมรักษ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/4/2563 23:40:25
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  18  คน
รายละเอียด  กลุ่มชาวบ้านในชุมชนสันพระเนตร เทศบาลตำบลสันพระเนตร จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิทยาศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ทุนอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 2563 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธวัฒน์  สร้อยทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน  ชื่นบาล
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี  อัลเดรด
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การถ่ายทอดองค์ความรู้และการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศก่อเกิดการบริการวิชาการเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะ
เป้าประสงค์ 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 1 ร้อยละงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 4.1.2 พัฒนาหลักเกณฑ์ในการของบประมาณบริการวิชาการให้เอื้อต่อนักวิจัยรุ่นใหม่ การ บูรณาการ และการทำงานเป็นทีม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันในแต่ละชุมชน หรือท้องถิ่นต่างๆ ประชาชนจะมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นการทำการเกษตร การค้าขาย การเรียนหนังสือ หรือกิจกรรมยามว่าง ซึ่งในการประกอบกิจกรรมนั้นจะต้องมีใช้ทรัพยากรบางอย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การปลูกข้าว ก็จะมีการใช้ปุ๋ย ใช้แรงงาน และได้ข้าวมาเป็นผลผลิตที่สำคัญ แต่ก็จะมีฟางข้างเป็นวัสดุเหลือใช้ หรือในการใช้ชีวิตประจำวัน เรามักจะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การดื่มน้ำ เราก็จะเหลือขวดน้ำเป็นเศษวัสดุที่ถูกทิ้งไป หรือการใช้แชมพู น้ำยาปรับผ้านุ่ม ถุงบรรจุของ เมื่อเราใช้แล้วเราก็จะพบว่าเราจะมีเศษวัสดุเหลือใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์เหล่านี้ถูกทิ้งให้เป็นขยะ ซึ่งเศษวัสดุจากพลาสติกเหล่านี้จะกลายมาเป็นปัญหาหลักของชุมชนเช่นกันเพราะการทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทางหากทิ้งไว้จะทำให้เกิดการอุดตันของท่อน้ำ นำมาซึ่งปัญหาน้ำท่วมขัง และขยะเหล่านี้ยังเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคหลายชนิด ที่เป็นต้นตอการแพร่ระบาดของโรคติดต่อต่างๆ ซึ่งหากชุมชนนำเศษวัสดุพลาสติกเหล่านี้กลับมาใช้ใหม่ “รีไซเคิล” ก็จะทำให้ชุมชนสามารถลดปริมาณเศษวัสดุที่จะทิ้งให้กลายเป็นขยะ เพิ่มมูลค่าให้ตัวเศษวัสดุพลาสติกเหล่านี้ด้วย และคืนความสวยงามให้กับสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามพบว่าชุมชนในประเทศไทยมีการนำวัสดุเหลือใช้ในกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่มีเพียงร้อยละ 22 โดยส่วนที่เหลือจะถูกทิ้งให้เป็นขยะที่ไม่มีค่า เศษวัสดุเหลือใช้จากพลาสติกจะแบ่งเป็นสองชนิด คือ 1) พลาสติกเทอร์โมเซท (Thermosetting Plastic) เป็นพลาสติกที่แข็งตัวด้วยความร้อน สามารถขึ้นรูปผลิตภัณฑ์รูปทรงต่างๆ ได้โดยทำให้แข็งตัวด้วยความร้อนในแม่แบบ และเมื่อแข็งตัวแล้วจะมีความคงรูปสูงมาก ไม่สามารถหลอมเหลวได้อีกพลาสติกในกลุ่มนี้จึงจัดเป็นผลิตภัณฑ์พลาสติกประเภท “รีไซเคิลไม่ได้”และ เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) เป็นพลาสติกที่หลอมตัวด้วยความร้อน และกลับแข็งตัวเมื่ออุณหภูมิลดต่ำลง พลาสติกชนิดนี้จัดเป็นวัสดุประเภท “รีไซเคิลได้” พลาสติกประเภทเทอร์โมพลาสติกเป็นพลาสติกที่มีการใช้กันมาก และมีการทิ้งเป็นขยะจำนวนมากด้วยเช่นกันเนื่องจากเป็นพลาสติกประเภทใช้ครั้งเดียว โดยเฉพาะพอลิเอทิลีน (Polyethylene : PE) ซึ่งเป็นพลาสติกที่มีสีขาวขุ่นโปร่งแสง มีความลื่นมันในตัวเอง เมื่อสัมผัสจึงรู้สึกลื่น ยืดหยุ่นได้ดี และที่สำคัญ ไม่มีกลิ่น และรส ไม่ติดแม่พิมพ์อีกด้วย มีความเหนียว แต่ทนความร้อนได้ไม่มากนัก (<100 องศาเซลเซียส) แต่ทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี (Chemical) เป็นฉนวนไฟฟ้าได้ดีมาก ใส่สีผสมได้ง่าย มีความหนาแน่นต่ำกว่าน้ำจึงลอยน้ำได้ดี เป็นฉนวนไฟฟ้า มี 2 ชนิดหลักๆ คือ 1) พอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (LDPE) มีความหนาแน่นอยู่ในช่วงตั้งแต่ 0.91 ถึง 0.93 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร นิยมนำไปใช้ทำถุงฟิล์มหด และฟิล์มยืด ขวดน้ำ ฝาขวด เป็นต้น เนื่องจากยืดตัวได้ดี ทนต่อการทิ่มทะลุและการฉีกขาด มีการใช้งานอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมพลาสติก เนื่องจากราคาไม่แพง มีความทนทาน และทนต่อสารเคมีได้ดี 2) พอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง (HDPE) มีความหนาแน่นอยู่ในช่วงตั้งแต่ 0.95 ถึง 0.97 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร มีความเหนียวและทนต่อการซึมผ่านได้ดี อีกทั้งยังทนทานต่อสารละลายต่าง ๆ ได้ดี มีลักษณะขุ่น นิยมใช้ HDPE ในการผลิตงานจากพลาสติกที่ต้องการความแข็งแรงสูง เช่น ถุงร้อน ท่อทนสารเคมี ท่อน้ำประปา ขวดน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่ในชุมชนเรามักจะพบเศษวัสดุจำพวกพลาสติกพอลิเอทิลีนเป็นจำนวนมากเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้งานครั้งเดียวแล้วทิ้ง เช่น ถุงพลาสติก ขวดน้ำ ขวดแชมพู ขวดน้ำยาล้างห้องน้ำ ฝาขวดแบบต่างๆ ซึ่งการรีไซเคิลพลาสติกเป็นวิธีการที่สามารถช่วยลดปริมาณขยะพลาสติก ซึ่งการรีไซเคิลสามารถทำได้ทั้งในระดับอุตสาหกรรม และในระดับชุมชนหรือครัวเรือน โดยในโครงการนี้เป็นการจัดกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตผลิตภัณฑ์จากเศษพลาสติกในระดับชุมชน โดยคาดหวังว่าชุมชนจะสามารถนำความรู้ที่ได้ไปผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าได้ โดยใช้กระบวนการ และเครื่องมือที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับเศษวัสดุจากชุมชน
เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มาจากเศษวัสดุจากชุมชน
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้จากระดับห้องปฏิบัติการสู่ชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ชุมชนต้นแบบสามารถแปรรูปเศษพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์
KPI 1 : ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ร้อยละ 5
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มาจากเศษวัสดุจากชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กร ที่ได้รับจากการบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 ล้านบาท 0.1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
18 คน 18
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ชุมชนต้นแบบสามารถแปรรูปเศษพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษพลาสติก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี  วงศ์มณีรุ่ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัฒน์  สร้อยทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัตรา  วงศ์แสนใหม่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราณรวีร์  สุขันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.เนตราพร  ด้วงสง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 10 ผืนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 18 คน ๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 900 บาท
ค่าอาหารผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 18 คน ๆ ละ 200 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำแม่พิมพ์ 1 แบบผลิตภัณฑ์ จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ x 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน x 2,500 บาท x 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร
- วิทยากรบรรยาย 1 คน จำนวน 4 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- วิทยากรปฏิบัติการ 2 คน จำนวน 4 ชั่วโมง ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 สันเล่ม ลวดเย็บ ปากกา ปากกาเคมี คลิปดำ ในวงเงิน 17,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,200.00 บาท 0.00 บาท 17,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น สารเคมี และเครื่องแก้ว (พลาสติกไซเซอร์ silicone oil พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ แผ่นเทฟลอน) ในวงเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ แผ่นซีดี ในวงเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล