15692 : โครงการการประยุกต์ใช้งานรังสีเพื่อการเกษตร ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสีความปลอดภัยทางรังสี และแนวทางการนำไปใช้ประโยชน์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.พิชณิชา นิปุณะ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/4/2563 22:22:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
14/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  80  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ทั้งในมหาวิทยาลัยและนอกมหาวิทยาลัย ฝ่ายสนับสนุน นักวิจัย นักศึกษาระดับปริญญาโท นักศึกษาระดับปริญญาตรี ผู้ปฏิบัติงานด้านรังสี ผู้ประกอบการ และเกษตรกรที่มีโอกาสในการประยุกต์ใช้งานเทคนิครังสีเพื่อการเกษตร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิทยาศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2563 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. สุรีย์พร  สราภิรมย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน  ชื่นบาล
รองศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ  ข้ามสี่
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การถ่ายทอดองค์ความรู้และการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศก่อเกิดการบริการวิชาการเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะ
เป้าประสงค์ 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.3 จำนวนองค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (Vision KPI)
กลยุทธ์ 4.1.1 พัฒนาองค์ความรู้ / ฐานเรียนรู้ที่มีศักยภาพของมหาวิทยาลัย และผลักดันสู่การยอมรับ (ดูงาน ฝึกอบรม เชิญเป็นวิทยากร นำไปใช้ประโยชน์ ฯลฯ) ในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้นเป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ความเป็นผู้นำทางด้านเกษตรอินทรีย์ และเทคโนโลยีที่นำมาประยุกต์ใช้งานเพื่อผลความเป็นเลิศนั้นจะต้องมีการเตรียมพร้อมให้สอดรับกันเป็นอย่างดี ทั้งนี้การนำเทคนิคใหม่ๆเข้ามาประยุกต์งานทางด้านการเกษตรนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะเทคนิคทางด้านกายภาพ เพื่อลดบทบาททางด้านการใช้สารเคมี เทคนิคทางด้านรังสีก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประยุกต์ใช้งาน ในการปรับปรุงพันธุ์พืช การฆ่าเชื้อ การถนอมอาหารเป็นต้น เทคนิคทางด้านรังสีนั้นนอกจากจะมีแหล่งกำเนิดมาจากสารรังสีอย่างที่เรารู้จักกัน เทคนิค ไอออนบีม อิเล็กตรอนบีม และพลาสมานั้นยังเกี่ยวรวมอยู่ในกลุ่มทางด้านเทคนิครังสีนี้อีกด้วย ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการประยุกต์ใช้งานนั้นมีความหลากหลายยิ่งนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โอกาสอันดีที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้นมีเครื่องฉายรังสีที่เป็นเพียงหนึ่งเดียวในเขตภาคเหนือนั้น การเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจให้กับทั้งบุคคลภายนอก นักศึกษา และบุคคลากรในมหาวิทยาลัยให้ได้รับความรู้และร่วมใช้ประโยชน์จากโอกาสที่มีอยู่นั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง นอกจากนั้นเทคโนโลยีนิวเคลียร์มีบทบาทที่สําคัญในกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในสาขาวิชาต่าง ๆ ทั้งทางการแพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม และ การศึกษาวิจัยในการนําเอาเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาบูรณาการในงานนั้น ผู้ปฏิบัติงานบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการนําสารกัมมันตรังสีมาใช้ประโยชน์ ดังนั้น การ สร้างองค์ความรู้ และความเข้าใจจึงมีบทบาทสูงมากในการสร้างทัศนคติที่ดีต่อเทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสี อีกทั้งยังสามารถขยายขอบเขตของการนําไปประยุกต์ใช้ในงานของตนเอง แต่เนื่องด้วยเทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสีเป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นสิ่งที่อันตรายและน่ากลัว ดังนั้นผู้ปฏิบัติจึงต้องสร้างมาตรการการป้องกันอันตรายจากสิ่งเหล่านี้ อีกเป็น อีกสาเหตุหนึ่งที่ทําให้ผู้ปฏิบัติงานบางส่วนมีความหวาดเกรงอันตราย และบางส่วนเกิดความประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติงาน อันจะส่งผลให้อาจได้รับอันตรายจากรังสีในที่สุด สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์จึงเล็งเห็นความสําคัญดังกล่าว อีกทั้งมีบุคลากรที่มีองค์ความรู้ความสามารถในด้านเทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสีที่พร้อมจะให้ความรู้ความเข้าใจ และมีเครื่องกําเนิดรังสี ที่พร้อมให้การสาธิตวิธีการและวิธีป้องกันตนเองได้ ทางคณะผู้จัดอบรมจึงได้กําหนดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการขึ้น จํานวน 1 ครั้ง โดยมีจุดมุ่งหมายใน การสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องของเทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสี อีกทั้งยังสามารถป้องกันอันตรายขณะที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับวัสดุกัมมันตรังสีแก่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ และควบคุมการปฏิบัติงานด้านการใช้ประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนําความรู้และประสบการณ์ ที่ได้รับ ไปพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานในหน่วยงานต้นสังกัดให้เป็นไปด้วยความปลอดภัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านนิวเคลียร์และรังสีสําหรับบุคคลทั่วไป อาจารย์ นักศึกษา
2. เพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไป ได้เรียนรู้งานด้านรังสี การปฏิบัติงานทางรังสี และการฝึกหัดการตรวจวัดรังสี
3. เพื่อสร้างคนรุ่นใหม่ของประเทศให้มีทัศนคติและมุมมองที่ดีในงานด้านวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ และเป็นกําลังสําคัญสําหรับการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
4. เพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้รังสีจากต้นกําเนิด เครื่องกําเนิดรังสีและผู้สนใจ การใช้ประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์และรังสีในทางสันติ
5. เพื่อยกระดับมาตรฐานสินค้าภาคอุตสาหกรรมอาหารให้มีอำนาจการแข่งขันเพิ่มขึ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกร ผู้ประกอบการ และกลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับภาคการเกษตร มีความรู้ทางด้านการใช้รังสี การประยุกต์ใช้รังสีด้านการเกษตร และการป้องกันอันตรายจากรังสี
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 ล้านบาท 0.1
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 คน 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกร ผู้ประกอบการ และกลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับภาคการเกษตร มีความรู้ทางด้านการใช้รังสี การประยุกต์ใช้รังสีด้านการเกษตร และการป้องกันอันตรายจากรังสี
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การประยุกต์ใช้งานรังสีเพื่อการเกษตร ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสีความปลอดภัยทางรังสี และแนวทางการนำไปใช้ประโยชน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.สุรีย์พร  สราภิรมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 100 คน ๆ ละ 35 บาท 3 มื้อ เป็นเงิน 10,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,500.00 บาท 10,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 100 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) - บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 500 บาท 3 คน 1 วัน เป็นเงิน 4,500 บาท -ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 3 คน 1 วัน เป็นเงิน 2,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 10 คนๆ ละ 200 บาท 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา โฟมแผ่น กระดาษแข็ง กระดาษสี ค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ แผ่นซีดี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เช่น สายไฟฟ้า ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ ท่อหด เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 38,500.00 บาท 38,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงดำ แก้วน้ำ กระดาษชำระ ถุงมือยางยาวสำหรับซักล้าง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ก๊าซอาร์กอน ไนโตรเจน เครื่องแก้ว ถุงมือวิทยาศาสตร์ ถุงมือกันร้อนกันเย็น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 12,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล