15681 : โครงการพื้นที่อินทรีย์ต้นแบบมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
นายรุ่งโรจน์ มณี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/4/2563 12:27:56
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ปลูกพืชอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน....164.55....ไร่ ประกอบด้วยพื้นที่ดำเนินโครงการของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ดังนี้ 1 พื้นที่ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์จำนวน 145.30 ไร่ประกอบด้วย 1. แปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ จำนวน 5 ไร่ 2. แปลงสมุนไพร (907 ไร่) จำนวน 19 ไร่ 3. แปลงผลิตผักสดอินทรีย์ (สาขาพืชผัก) จำนวน 1.5 ไร่ 4. ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา จำนวน 30 ไร่ 5. แปลงยางพารา (ฟาร์มบ้านโปง) จำนวน 37 ไร่ 6. แปลงมะม่วง (ฟาร์มบ้านโปง) จำนวน 23 ไร่ 7. แปลงลำไย (ฟาร์มบ้านโปง) จำนวน 20 ไร่ 8. แปลงผักอินทรีย์ สำนักวิจัย จำนวน 5 ไร่ 9. แปลงผักอินทรีย์ (907 ไร่) จำนวน 2 ไร่ 10. แปลงปรับปรุงพันธุ์ (216 ไร่) จำนวน 2.8 ไร่ 2 พื้นที่ผ่านการรับรองพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่ ประกอบด้วย 1. แปลงผลิตพืชไร่อินทรีย์ จำนวน 2.25 ไร่ 2. แปลงสมุนไพร D (เศรษฐศาสตร์) จำนวน 10 ไร่ 3. พื้นที่โรงเรือนสมาร์ทฟาร์ม จำนวน 2 ไร่ 4. ศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี (907 ไร่) จำนวน 5 ไร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินประจำปี พ.ศ.2563 งบบริการวิชาการ พื้นที่อินทรีย์ต้นแบบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2563 88,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย รุ่งโรจน์  มณี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 ผก 4. การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 63 ผก 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า
ตัวชี้วัด 63 ผก 4.4 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของคณะ / มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 63 ผก 4.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีวิสัยทัศน์ในการเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีความเป็นเลิศทางการเกษตรในระดับนานาชาติ เพื่อสร้างและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้เชิงบูรณาการด้านการเกษตร เป็นแหล่งเรียนรู้ค้นคว้าและรวบรวมองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่ที่เป็นศาสตร์ผสมผสานสอดคล้องกับวัฒนธรรมพื้นที่ เกษตรอินทรีย์เป็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในปี พ.ศ. 2557 – 2561 การสร้างพื้นที่อินทรีย์ต้นแบบ เพื่อผลิตองค์ความรู้และเผยแพร่ให้ นักศึกษา เกษตรกร และผู้สนใจได้มาศึกษาดูงาน เป็นแบบอย่างให้เกษตรกรนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่จริง มีประโยชน์แก่นักศึกษา เกษตรกร และผู้สนใจ ในองค์ความรู้เกษตรอินทรีย์ที่หลากหลาย การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงมีการขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จากหน่วยงานสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท) เข้ามารับรองพื้นที่ทุกปีๆละ 1 ครั้งตั้งแต่ปีงบประมาณ 2553 และได้รับการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ในปี 2554 คือแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์อินทรีย์และแปลงสมุนไพร ในปีงบประมาณ 2556 ได้รับการรับรองพื้นที่เพิ่มอีกเป็นจำนวน 40 ไร่ ส่วนในปีงบประมาณ 2557 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์ 49.5 ไร่ ปีงบประมาณ 2558 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์จำนวน 167.5 ไร่ และปีงบประมาณ 2559 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์จำนวน 170.3 ไร่ ประกอบด้วย 1.แปลงปรับปรุงพันธุ์และผลิตเมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ 5 ไร่ 2.แปลงสมุนไพร 29 ไร่ 3.แปลงผลิตผักสดอินทรีย์ (สาขาพืชผัก) 1.5 ไร่ 4.ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา (35 ไร่) 5.แปลงยางพารา (37 ไร่) 6.แปลงมะม่วง (23 ไร่) 7.แปลงลำไย (20ไร่) 8.แปลงสำนักวิจัย (15 ไร่) 9.แปลงผักอินทรีย์ (2 ไร่) และ10.แปลงปรับปรุงพันธุ์ 216ไร่ (2.8 ไร่) ในปี พ.ศ. 2560ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์จำนวน 170.3 ไร่ ประกอบด้วย 1.แปลงปรับปรุงพันธุ์และผลิตเมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ 5 ไร่ 2.แปลงสมุนไพร 29 ไร่ 3.แปลงผลิตผักสดอินทรีย์ (สาขาพืชผัก) 1.5 ไร่ 4.ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา (35 ไร่) 5.แปลงยางพารา (37 ไร่) 6.แปลงมะม่วง (23 ไร่) 7.แปลงลำไย (20ไร่) 8.แปลงสำนักวิจัย (15 ไร่) 9.แปลงผักอินทรีย์ (2 ไร่) 10.แปลงปรับปรุงพันธุ์ 216ไร่ (2.8 ไร่) และได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 9.25 ไร่ ประกอบด้วย 1.ศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี (907 ไร่) 5 ไร่ 2.แปลงพืชไร่อินทรีย์ 2.25 ไร่ 3.พื้นที่โรงเรือนสมาร์ทฟาร์ม 2 ไร่ และในปี พ.ศ. 2562 อยู่ในช่วงการดำเนินงานติดต่ออายุการรับรองเพื่อต่ออายุการรับรองและขอการรับรองแปลงใหม่ซึ่งใบรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์มีอายุการรับรอง 1 ปี ใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ครบอายุการรับรอง ในวันที่ 31 มีนาคมของทุกปี

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 145.30 ไร่
เพื่อขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชอินทรีย์ในระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เพื่อต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 145.30 ไร่ และเพื่อขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : จำนวนพื้นที่ที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
164.55 ไร่ 164.55
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.088 ล้านบาท 0.088
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เพื่อต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 145.30 ไร่ และเพื่อขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่
ชื่อกิจกรรม :
ตรวจต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 145.30 ไร่ พื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่ รวมทั้งสิ้นจำนวน 164.55 ไร่ (13 แปลง)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายรุ่งโรจน์  มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตรวจแปลงตามโปรแกรม ACT – IFOAM
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 60000.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ นักวิชาการ จำนวน 30 คน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายรุ่งโรจน์  มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
กระดาษถ่ายเอกสาร A4 จำนวน 10 ริม
ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 2,900 แผ่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,600.00 บาท 0.00 บาท 2,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8000.00
ชื่อกิจกรรม :
เก็บตัวอย่างดินวิเคราะห์สารเคมีโลหะหนักปนเปื้อน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายรุ่งโรจน์  มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าธรรมเนียมการตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในดิน จำนวน 6 ตัวอย่าง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้รับผิดชอบพื้นที่ที่ขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ขาดความเข้าใจในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ขอรับรอง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ตรวจเยี่ยมประชุมและอบรมให้ความเข้าใจในการขอรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อย่างถูกต้อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล