15669 : สร้างและยกระดับผู้ประกอบการเกษตรกรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เพื่อเชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่สร้างมูลค่าเพิ่ม ภายใต้ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (ทุกช่วงวัย)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/3/2563 11:13:32
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
23/03/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  1.ผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ที่มีศักยภาพเป็นอย่างมืออาชีพ Smart Farmer เน้นขยายรุ่นที่ 1-6 ไปสู่การใช้งานในพื้นที่เกษตรกร เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรอินทรีย์ที่เป็น Smart Farmer จำนวน 30 คน 2.ประชาชนที่สนใจสู่อาชีพเกษตร เพื่อพัฒนาเป็นผู้นำเกษตรกรอินทรีย์รุ่นใหม่ (3 เดือน) จำนวน 30 คน 3.วัยรุ่น/เยาวชนที่สนใจ เพื่อนำไปสู่การเป็นผู้นำเกษตรกรอินทรีย์รุ่นเยาว์ จำนวน 30 คน 4.ผู้สูงอายุ เพื่อนำไปสู่การเป็นผู้นำเกษตรกรอินทรีย์ จำนวน 30 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2563 5,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยนานาชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการวิชาการจากต่างประเทศ (Vision KPI)
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ยกเลิก
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA63-3 ด้านการบริการวิชาการ
เป้าประสงค์ BA63-G15 มีการให้บริการวิชาการเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน และสังคม ตามระดับความเชี่ยวชาญและอัตลักษณ์ของคณะฯ
ตัวชี้วัด BA63-KPI 30 จำนวนหลักสูตรจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง (P.5)
กลยุทธ์ BA63-S18 ส่งเสริมให้มีการจัดบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด BA63-KPI 31 ระดับความสำเร็จในการจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม และก่อให้เกิดรายได้จากการบริการวิชาการ (P.1)
กลยุทธ์ BA63-S18 ส่งเสริมให้มีการจัดบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
เป้าประสงค์ BA63-G16 มีหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด BA63-KPI 32 จำนวนหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม (P.5)
กลยุทธ์ BA63-S19 สร้างหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม
เป้าประสงค์ BA63-G18 มีระบบการบริหารจัดการงานบริการวิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด BA63-KPI 34 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น (คำรับรอง)
กลยุทธ์ BA63-S21 สนับสนุนการพัฒนาหลักเกณฑ์ในการของบประมาณบริการวิชาการให้เอื้อต่อนักวิจัย การบูรณาการ และการทำงานเป็นทีม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เพื่อสร้างและพัฒนาผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยเพื่อสู่ชุมชน สังคมและครัวโลก เกษตรอินทรีย์เป็นระบบเกษตรที่มีลักษณะเป็นองค์รวมที่ให้ความสำคัญในเบื้องต้นกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบ/นิเวศการเกษตร และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ละเลยมิติด้านสังคมและเศรษฐกิจ เพราะความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อมไม่อาจดำรงอยู่ได้ โดยแยกออกจากความยั่งยืนทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นสถาบันการศึกษาที่มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะด้านการเกษตร ขยายโอกาสให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ การสร้างและพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางการเกษตรและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เพื่อการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สังคม สร้างความเป็นเลิศทางวิชาการด้านการเกษตร เพื่อเป็นที่พึ่งของตนเองและสังคม ปัจจุบันมีผู้ตัดสินใจเลือกเรียนทางด้านการเกษตรลดลง เนื่องจากมีทัศนะคติต่อการเรียนและอาชีพทางการเกษตรเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ผู้จบการศึกษาส่วนใหญ่ไม่นิยมประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม อาจเนื่องจากผู้ปกครองประกอบอาชีพอื่นที่ไม่เกี่ยวกับการเกษตร ไม่มีที่ดินทำกิน ขาดเงินทุนประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม เป็นต้น ดังนั้นหากมีกลไกและแรงจูงใจที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนเห็นว่าการทำอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพที่มีความมั่นคง สามารถสร้างรายได้ที่ดี ถ้ามีการนำความรู้และเทคโนโลยีมาใช้อย่างเหมาะสมในอุตสากรรมการเกษตร ย่อมสามารถทำให้ผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะต่อการเรียนเกษตร ตัดสินใจเลือกเรียนเกษตร และหันมาประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น ผลดำเนินการผลิตอัตรากำลังคนทางเกษตร เพื่อเพิ่มพื้นที่ไม่น้อยกว่า 1500 ไร่มาแล้ว ในปีงบประมาณ 2562 เป็นปีที่ 3 ที่มุ่งเน้นให้เกิดองค์ความรู้และมีความต่อเนื่องสู่ความยั่งยืนของการเป็นผู้ประกอบการเกษตร โดยคณะทำงานจึงมุ่งสร้างศูนย์บริการองค์ความรู้สำหรับผู้ประกอบการเพื่อสังคมด้านธุรกิจเกษตรอินทรีย์ (The Knowledge Service Center for Social Entrepreneurship in Organic Agribusiness Management, Maejo University) เพื่อขยายผลจากผู้เข้าร่วมอบรมรุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 6 ที่ได้เข้าทำอาชีพเกษตรกรไปแล้ว ให้กลับสร้างศักยภาพการบริหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร ด้วยระบบอัจฉริยะเพื่อการตัดสินใจสำหรับธุรกิจเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์มืออาชีพ หรือ Smart Farmer แบบเข้มข้นจำนวน 30 ราย (ต่อยอดจากเกษตรกรที่เป็นผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์มาแล้วตั้งแต่ปี 2560 และปี 2561) และเพื่อผลิตผู้นำเกษตรกรอินทรีย์เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการทุกช่วงวัย อาทิ ประชาชน เยาวชน วัยทำงาน วัยก่อนเกษียณ วัยเกษียณ จำนวน 120 ราย และ ซึ่งมุ่งเป้าเพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 300 ไร่ในปี 2563 พร้อมกับเพื่อส่งเสริมอบรมเกษตรกรอินทรีย์ให้มีความรู้เพื่อพร้อมนำไปใช้งานอย่างยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างศูนย์บริการองค์ความรู้สำหรับผู้ประกอบการเพื่อสังคมด้านธุรกิจเกษตรอินทรีย์ (The Knowledge Service Center for Social Entrepreneurship in Organic Agribusiness Management, Maejo University)
เพื่อสร้างผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์รุ่นใหม่ทุกช่วงวัย
เพื่อสร้างศักยภาพการบริหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร ด้วยระบบอัจฉริยะเพื่อการตัดสินใจสำหรับธุรกิจเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์มืออาชีพ หรือ Smart Farmer
เพื่อเพิ่มพื้นที่การทำเกษตรอินทรีย์
เพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางการตลาดแก่กลุ่มผู้ประกอบการ/เกษตรกรเครือข่ายผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศักยภาพการบริหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร ด้วยระบบอัจฉริยะเพื่อการตัดสินใจสำหรับธุรกิจเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์มืออาชีพ หรือ Smart Farmer
KPI 1 : เกษตรกรที่มีการยอมรับการจัดการธุรกิจเกษตรอินทรีย์ด้วยระบบเทคโนโลยี และพร้อมปรับเปลี่ยนเป็นเกษตรกรเกษตรอินทรีย์มืออาชีพในอนาคต
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ประชาชนที่สนใจสู่อาชีพเกษตร เพื่อพัฒนาเป็นผู้นำเกษตรกรอินทรีย์รุ่นใหม่ (3 เดือน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 3 : พื้นที่เกษตรอินทรีย์และปลอดภัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
300 ไร่ 300
KPI 4 : จำนวนศูนย์บริการองค์ความรู้สำหรับผู้ประกอบการเพื่อสังคมด้านธุรกิจเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ศูนย์ 1
KPI 5 : เกษตรกรปรับเปลี่ยนเป็นเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : วัยรุ่น/เยาวชนที่สนใจ เพื่อนำไปสู่การเป็นผู้นำเกษตรกรอินทรีย์รุ่นเยาว์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 7 : ผู้สูงอายุ เพื่อนำไปสู่การเป็นผู้นำเกษตรกรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 8 : จำนวนผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ที่มีศักยภาพเป็นอย่างมืออาชีพ Smart Farmer เน้นขยายรุ่นที่ 1-6 ไปสู่การใช้งานในพื้นที่เกษตรกร เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรอินทรีย์ที่เป็น Smart Farmer
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศักยภาพการบริหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร ด้วยระบบอัจฉริยะเพื่อการตัดสินใจสำหรับธุรกิจเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์มืออาชีพ หรือ Smart Farmer
ชื่อกิจกรรม :
ยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์สู่ Smart Farmer เน้นขยายปีที่ 1 และปีที่ 2

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ชมชวน  บุญระหงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าที่พักผู้เข้ารับการอบรม (30 คน x 7 คืนx 200 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 42,000 บาท
2.ค่าอาหารเช้า (30คน x 7 มื้อ x 100บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 21,000 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 7 มื้อ x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 21,000 บาท
4.ค่าอาหารเย็น (30 คน x 7 มื้อ x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 21,000 บาท
5.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 14 มื้อ x 35 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 14,700 บาท
6.ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงในการศึกษาดูงาน (3 คัน x 2 วัน x 2,500บาท) เป็นเงิน 15,000 บาท
7.ค่าของที่ระลึกในการศึกษาดูงาน (2 ครั้ง x 1 ชิ้น x 1,000บาท) เป็นเงิน 2,000 บาท
8.ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม (30 คน x 5 วิชา x 200 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 166,700.00 บาท 166,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ( 40 ชั่วโมง x 600 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 23,400 บาท
2.ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 12,000 บาท
3.ค่าวัสดุเกษตรประกอบการฝึกอบรม 30 คนๆละ 16,500 บาท เป็นเงิน 495,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 530,400.00 บาท 530,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 721100.00
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ระยะที่ 1 ปีที่ 3 (2 เดือนแรก)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ชมชวน  บุญระหงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าที่พักผู้เข้ารับการอบรม (30 คน x 60 คืนx 200 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 360,000 บาท
2.ค่าอาหารเช้า (30 คน x 60 มื้อ x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 180,000 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 60 มื้อ x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 180,000 บาท
4.ค่าอาหารเย็น (30 คน x 60 มื้อ x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 180,000 บาท
5.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 120 มื้อ x 35 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 126,000 บาท
6.ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงในการศึกษาดูงาน (3 คัน x 10 วัน x 2,500 บาท) เป็นเงิน 75,000 บาท
7.ค่าของที่ระลึกในการศึกษาดูงาน (10 ครั้ง x 1 ชิ้น x 1,000 บาท) เป็นเงิน 10,000 บาท
8.ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม (30 คน x 30 วิชา x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 90,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,201,000.00 บาท 1,201,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ( 400 ชั่วโมง x 600 x1 รุ่น) เป็นเงิน 240,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 240,000.00 บาท 240,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุเกษตรและปัจจัยการผลิต เป็นเงิน 245,000 บาท
2.ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 246,000 บาท
3.ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 200,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 691,000.00 บาท 691,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2132000.00
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมภาคปฏิบัติระยะที่ 2 ปีที่ 3 (1 เดือนหลัง)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ชมชวน  บุญระหงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าที่พักผู้เข้ารับการอบรม (30 คน x 30 คืน x 200 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 180,000 บาท
2.ค่าอาหารเช้า (30 คน x 30 มื้อ x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 90,000 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 30 มื้อ x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 90,000 บาท
4.ค่าอาหารเย็น (30 คน x 30 มื้อ x 100 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 90,000 บาท
5.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 60 มื้อ x 35 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 63,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 513,000.00 บาท 513,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุเกษตรและปัจจัยการผลิต เป็นเงิน 205,000 บาท
2.ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เป็นเงิน 270,000 บาท
3.ค่าวัสดุงานบ้านและงานครัว เป็นเงิน 90,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 565,000.00 บาท 565,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1078000.00
ชื่อกิจกรรม :
วัยใสใส่ใจเกษตรอินทรีย์ BA MJU Org Gen" เกษตรกรรุ่นใหม่ ระยะสั้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ชมชวน  บุญระหงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าที่พักผู้เข้ารับการอบรม (30 คน x 3 คืนx 200บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 18,000 บาท
2.ค่าอาหารเช้า (30 คน x 3 มื้อ x 100บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 9,000 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 3 มื้อ x 100บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 9,000 บาท
4.ค่าอาหารเย็น (30 คน x 3 มื้อ x 100บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 9,000 บาท
5.ค่าเช่าห้องประชุม ( 1 ห้อง x 2 วัน x 2,000 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 4,000 บาท
6.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 6 มื้อ x 30 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 5,400 บาท
7.ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม (30 คน x 4 วิชา x 200 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 24,000 บาท
8.ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงในการศึกษาดูงาน (3 คัน x 1 วัน x 2,500 บาท) เป็นเงิน 7,500 บาท
9.ค่าสมนาคุณในการดูงาน (3 แห่ง x 1 วัน x 1,000บาท) เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 88,900.00 บาท 88,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ( 16 ชั่วโมง x 600 บาท x1 รุ่น) เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 66,500 บาท
2.ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 91,500.00 บาท 91,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 190000.00
ชื่อกิจกรรม :
ผู้สูงวัยใส่ใจเกษตรอินทรีย์ BA MJU Org Gen" เกษตรกรรุ่นใหม่ ระยะสั้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ชมชวน  บุญระหงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าที่พักผู้เข้ารับการอบรม (30 คน x 3 คืนx 200บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 18,000 บาท
2.ค่าอาหารเช้า (30 คน x 3 มื้อ x 100บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 9,000 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 3 มื้อ x 100บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 9,000 บาท
4.ค่าอาหารเย็น (30 คน x 3 มื้อ x 100บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 9,000 บาท
5.ค่าเช่าห้องประชุม (1 ห้อง x 2 มื้อ x 2,000บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 4,000 บาท
6.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 6 มื้อ x 30บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 5,400 บาท
7.ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม (30 คน x 4 วิชา x 200 บาท x 1 รุ่น) เป็นเงิน 24,000 บาท
8.ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงในการศึกษาดูงาน (3 คัน x 1 วันx 2,500 บาท) เป็นเงิน 7,500 บาท
9.ค่าสมนาคุณในการดูงาน (3 แห่ง x 1 วัน x 1,000บาท) เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 88,900.00 บาท 88,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (16 ชั่วโมง x 600 x 1 รุ่น) เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 66,500 บาท
2.ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 91,500.00 บาท 91,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 190000.00
ชื่อกิจกรรม :
การบริหารจัดการโครงการ สู่การพัฒนาศูนย์บริการองค์ความรู้สำหรับผู้ประกอบการเพื่อสังคมด้านธุรกิจเกษตรอินทรีย์ (The Knowledge Service Center for Social Entrepreneurship in Organic Agribusiness Management, Maejo University)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ชมชวน  บุญระหงษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่บริหารโครงการ (2 คน x 7 เดือน x 15,000 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 210,000 บาท
2.ค่าจ้างเหมาผลิตวิดีโอประชาสัมพันธ์โครงการ (1 เรื่อง x 1 ปี x 17,500 บาท x 4 รุ่น) เป็นเงิน 70,000 บาท
3.ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อบทเรียนออนไลน์ สำหรับความรู้ด้านผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ฯ (10 วิชา x 1 ปี x 30,000 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 300,000 บาท
4.ค่าจ้างเหมาป้ายประชาสัมพันธ์ไวนิล 1 x 3 เมตร (5 ผืน x 1 ปี x 700 บาท x 3 กิจกรรม) เป็นเงิน 10,500 บาท
5.ค่าจ้างเหมาป้ายประชาสัมพันธ์ไวนิล 4 x 2 เมตร (8 ผืน x 1 ปี x 1,600 บาท x 3 กิจกรรม) เป็นเงิน 38,400 บาท
6.ค่าจ้างเหมาติดตามและประเมินผล (1 ครั้ง x 1 ปี x 20,000 บาท x 3 กิจกรรม) เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 688,900.00 บาท 688,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 688900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
สร้างและยกระดับผู้ประกอบการเกษตรกรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เพื่อเชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่สร้างมูลค่าเพิ่ม ภายใต้ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (ทุกช่วงวัย)
15669_1 สร้างและยกระดับผู้ประกอบการเกษตรกรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เพื่อเชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่สร้างมูลค่าเพิ่ม ภายใต้ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (ทุกช่วงวัย)
15669_2 สร้างและยกระดับผู้ประกอบการเกษตรกรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เพื่อเชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่สร้างมูลค่าเพิ่ม ภายใต้ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (ทุกช่วงวัย)
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล