15588 : โครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปี 2563
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/2/2563 10:56:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/03/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  3500  คน
รายละเอียด  คณะครูนักเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาในจังหวัดแพร่ และบุคลากรนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2563 120,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วันทนีย์  แพงศรี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 1.การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 63 MJU 1.5.1 ร้อยละของโครงการพัฒนานักศึกษาที่มีการบูรณาการด้านทักษะ IT ภาษาอังกฤษ วิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21 ฯลฯ
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะด้านภาษา IT และทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
เป้าประสงค์ 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 1.5.1 ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการพัฒนานักศึกษาที่มีการบูรณาการด้านทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะด้านภาษา IT และทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

รัฐบาลได้เห็นถึงความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ จึงได้มีมติคณะรัฐมนตรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เห็นชอบให้วันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปีเป็นวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณและเทิดพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย โดยได้มอบหมายให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินการจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดยได้ขอความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ในการจัดกิจกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นประชาชน เยาวชนไทยให้มีความตื่นตัวเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ และเห็นความสำคัญของการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้จัดโครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์ต่อเนื่องกันมา เริ่มต้นในปี 2549 ซึ่งได้รับการตอบรับของโรงเรียนในจังหวัดแพร่และจังหวัดใกล้เคียงเป็นอย่างดี ผลของการจัดงานอย่างต่อเนื่องส่งผลให้มหาวิทยาลัยเป็นที่รู้จักมากขึ้น ท้องถิ่นทราบถึงความสามารถและศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัย รวมทั้งช่วยกระตุ้นความสนใจและความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาได้อย่างมาก ซึ่งจะเห็นได้ว่าการจัดโครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์นั้นส่งผลดีต่อมหาวิทยาลัย ดังนั้นเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์และแสดงถึงศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งแสดงให้ท้องถิ่นและจังหวัดใกล้เคียงได้เล็งเห็นว่าทางมหาวิทยาลัยเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยที่มีความพร้อมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงได้จัดทำโครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปี 2563 ขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติและพระปรีชาสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว "พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย"
2 เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นประชาชน เยาวชนไทยให้มีความตื่นตัวเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ และเห็นความสำคัญของการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปี 2563
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120000 บาท 120000
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3500 คน 3500
KPI 4 : การดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปี 2563
ชื่อกิจกรรม :
สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปี 2563

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วันทนีย์  แพงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงานโครงการฯฉบับสมบูรณ์ จำนวน 3 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้ประสานงานและนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 90 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,700.00 บาท 8,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำหรับกิจกรรมสาธิตการทำเจลและสเปรย์แอลกอฮอล์ เป็นเงิน 74,300 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 1,500 บาท
3. ค่าวัสดุสำหรับการแข่งขันนักบินน้อย เป็นเงิน 2,000 บาท
4. ค่าวัสดุสำหรับการแข่งขันจรวดขวดน้ำ เป็นเงิน 2,000 บาท
5. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 5,000 บาท
6. ค่าวัสดุสำหรับกิจกรรมแนะนำสาขาวิชา จำนวน 13 หน่วย ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 19,500 บาท
7. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 111,300.00 บาท 111,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 120000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. การระบาดของโรคโควิด-19 2. ผลสำเร็จไม่เป็นไปตาม KPI ที่ตั้งไว้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. ปรับเปลี่ยนรูปแบบบางกิจกรรมให้เป็นแบบออนไลน์ และทำ social distancing 2. ปรับเปลี่ยน KPI ให้สอดคล้องกับรูปแบบกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล