15539 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี Smart Farm พืชเศรษฐกิจ เพื่อยกระดับ และพัฒนาคนสู่ Smart Farmer
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/12/2563 15:14:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2563  ถึง  31/12/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  400  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากรภาคการศึกษา เกษตรกรและผู้ที่สนใจ จำนวน 400 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2563 1,500,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์  กาญจนประโชติ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.1.5 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 63-64MJU4.1.8 สร้างจุดบริการ One Stop Service ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ คณะมีระบบการบริหารจัดการงานบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด EN63-4.1.2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการของคณะฯ
กลยุทธ์ พัฒนาระบบบริหารงานบริการวิชาการของคณะฯ ให้มีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

นโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาลที่มีต่อภาคการผลิตทางด้านการเกษตร มุ่งเน้นการขับเคลื่อนภาคเกษตรกรรมด้วยนวัตกรรมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากการทำการเกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในขณะนี้ทั่วโลกกำลังเผชิญกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอาการ อาทิ อุณหภูมิโลกสูงขึ้น ประสบภัยธรรมชาติบ่อยครั้ง เกิดภาระขาดแคลนอาหาร ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น ส่งผลต่อสุขภาพจากโรคและแมลง ดังนั้นหากการผลิตพืชผลเศรษฐกิจของพื้นที่ภาคเหนือมีการทำลายสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดก็จะเป็นการส่งเสริมการขาย เพิ่มศักยภาพในการส่งออกไปยังประเทศที่มีข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์และสินค้าเกษตรปลอดภัยที่สามารถพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรอินทรีย์และสินค้าเกษตรปลอดภัยในปัจจุบันมีการปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ มากมายทั้งทางตรงซึ่งเกิดจากการใช้สารเคมีเอง หรือทางอ้อม อาทิเช่นการปนเปื้อนในแหล่งน้ำ เป็นสาเหตุทำให้สินค้าเกษตรอินทรีย์และสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยขาดความน่าเชื่อมั่นจากผู้บริโภคและไม่สามารถทำการตลาดได้อย่างที่ควรจะเป็น กระแสการบริโภคอาหารปลอดภัย อาหารกรีน อาคารคลีน อาหารอินทรีย์จึงเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น แต่การผลิตอาหารดังกล่าวต้องใช้ทั้งความเชี่ยวชาญ และความใส่ใจเป็นอย่างสูง ทำให้เกษตรกรจำนวนมากยังคงไม่สามารถเปลี่ยนแปลงการผลิตแบบเดิม ๆ มาเป็นการผลิตอาหารปลอดภัยได้ การยกระบบการเพาะปลูกพืชเพื่อผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสินค้าเกษตรปลอดภัยด้วยวัตกรรมและเทคโนโลยีการทำฟาร์มด้วยระบบการเกษตรแบบแม่นยำ (Precision Agriculture) และเทคโนโลยีการทำฟาร์มอัจฉริยะ (Smart Farming) ที่เหมาะสมกับบริบทเกษตรกรไทยด้วยการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่อาทิเช่น เทคโนโลยีเซ็นเซอร์เพื่อการเกษตร เทคโนโลยี IOT ระบบควบคุมปัจจัยการเพาะปลูกอัตโนมัติ ระบบบันทึกข้อมูลฟาร์มอิเล็กทรอนิกส์และการตรวจสอบย้อนกลับที่มีความน่าเชื่อถือและแม่นยำ ระบบการเฝ้าติดตามแปลงเพาะปลูกเข้ามาบูรณาการเข้ากับการผลิตแบบดั้งเดิมที่เกษตรกรมีองค์ความรู้และความชำนาญอยู่ก่อนแล้ว ครอบคลุมทุกกระบวนการในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ตลอดจนการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ในภาคเกษตรเน้นการเสริมสร้างฐานการผลิตการเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตร ส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยให้ปรับไปสู่รูปแบบเกษตรกรรมที่ยั่งยืนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและรวมกลุ่มเกษตรกรในการพัฒนาอาชีพ ตลอดจนการพัฒนาสินค้าเกษตรและอาหารที่มีศักยภาพในการแข่งขัน ที่ได้กล่าวมาข้างต้นสอดคล้องกับการขับเคลื่อนแนวทางด้านเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัย ทั้งการพัฒนาระบบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล การส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้คุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัย จนนำไปสู่การขับเคลื่อนการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยอย่างจริงจัง รวมถึงการพัฒนาระบบการรับรองแบบชุมชนมีส่วนร่วม (PGS) ให้เป็นที่ยอมรับมากขึ้น โครงการนี้มุ่งเน้นการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีตลอดจนองค์ความรู้ด้านกระบวนการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ คือพืชผัก นาข้าว จากผู้เชี่ยวชาญในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อสร้างต้นแบบการจัดการฟาร์มอย่างปราดเปรื่อง สำหรับเป็นศูนย์เรียนรู้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับเกษตรกรในประเทศ ตลอดจนเป็นศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบ smart farm เพื่อยกระดับระบบการเพาะปลูกให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ กล่าวโดยสรุปจะเห็นได้ว่าการนำเทคโนโลยีการทำการเกษตรแบบแม่นยำ (Precision Agricultural) และฟาร์มอัจฉริยะ (Smart farming) ตลอดจนเครื่องจักรกลเกษตรสมัยใหม่มาใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสินค้าเกษตรปลอดภัยเป็นการตอบสนองนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล สนับสนุนการมุ่งสู่ความสำเร็จด้วยการผสมผสานกับภูมิปัญญาชาวบ้าน เพื่อให้ได้สินค้าตามจำนวนที่ต้องการอย่างมีคุณภาพเป็นสิ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาความมั่นคงด้านอาชีพเกษตรกรรมไทยอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
สร้างศูนย์เรียนรู้ฟาร์มพืชเศรษฐกิจในระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ (ผัก และนาข้าว) ด้วยการบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีมัยใหม่ด้านเกษตรแม่นยำและฟาร์มอัจฉริยะ สำหรับเป็นศูนย์อบรมให้ความรู้แก่บุคคลที่สนใจทำฟาร์มเกษตรสมัยใหม่
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการใช้งานอุปกรณ์เครื่องมือและโปรแกรมสนับสนุนการทำฟาร์มสมัยใหม่ (การทำฟาร์มแบบแม่นยำและการทำฟาร์มอัจฉริยะ) ตลอดจนพัฒนาทักษะให้กับเกษตรกรในการทำ Smart Farm พืชเศรษฐกิจ เพื่อยกระดับเกษตรกรสู่เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
เพื่อสร้างและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่การเป็น Smart Farmer พืชเศรษฐกิจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กิจกรรมย่อยที่ 1 สำรวจและออกแบบพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในระบบอินทรีย์/ปลอดภัย (ผัก นาข้าว) เพื่อวางแผนการติดตั้งระบบอุปกรณ์ IOT sensor และอุปกรณ์ติดต่อสื่อสารระยะไกล
KPI 1 : ได้ต้นแบบฟาร์มผักอินทรีย์ นาข้าวอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ฟาร์ม 2
ผลผลิต : กิจกรรมย่อยที่ 2. ผลิตสื่อเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนและบทเรียนออนไลน์ (E-Learning portal) ด้านการทำเกษตรแบบแม่นยำและการทำฟาร์มอัจฉริยะ
KPI 1 : สื่อเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ด้านการทำเกษตรแบบแม่นยำและการทำฟาร์มอัจฉริยะ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 บทเรียน 2
ผลผลิต : กิจกรรมย่อยที่ 3. จัดการอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การใช้งานและติดตั้งระบบอุปกรณ์ในระบบการทำการเกษตรแบบแม่นยำและฟาร์มอัจฉริยะ
KPI 1 : จำนวนเกษตรกรและผู้สนใจที่เข้าอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
400 ราย 400
KPI 2 : ความพึงพอใจของ จำนวนเกษตรกรและผู้สนใจที่เข้าอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กิจกรรมย่อยที่ 1 สำรวจและออกแบบพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในระบบอินทรีย์/ปลอดภัย (ผัก นาข้าว) เพื่อวางแผนการติดตั้งระบบอุปกรณ์ IOT sensor และอุปกรณ์ติดต่อสื่อสารระยะไกล
ชื่อกิจกรรม :
1. สำรวจและออกแบบพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (ผักอินทรีย์ นาข้าวอินทรีย์) เพื่อวางแผนการติดตั้งระบบอุปกรณ์ตรวจวัดต่างๆและอุปกรณ์ติดต่อสื่อสารระยะไกล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์  กาญจนประโชติ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าใช้ระบบอุปกรณ์ตรวจวัดทางการเกษตรและอุปกรณ์รับส่งสัญญาณระยะไกล จำนวน 3 ระบบ จำนวน 7 เดือน ๆ ละ 11,850 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 35,550.00 บาท 106,650.00 บาท 106,650.00 บาท 248,850.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมาติดตั้งระบบอุปกรณ์ IOT sensor และอุปกรณ์ติดต่อสื่อสารระยะไกล จำนวน 3 ระบบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 186,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 186,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมาปรับพื้นที่และวางระบบน้ำในฟาร์ม จำนวน 4 ระบบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 200,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 200,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจและวางแผนออกแบบฟาร์ม และติดตามงาน จำนวน 2 ฟาร์ม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 120,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 120,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 99,050.00 บาท 99,050.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 854500.00
ผลผลิต : กิจกรรมย่อยที่ 2. ผลิตสื่อเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนและบทเรียนออนไลน์ (E-Learning portal) ด้านการทำเกษตรแบบแม่นยำและการทำฟาร์มอัจฉริยะ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 2. ผลิตสื่อเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนและบทเรียนออนไลน์ (E-Learning portal) ด้านการทำเกษตรแบบแม่นยำและการทำฟาร์มอัจฉริยะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์  กาญจนประโชติ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผลิตสื่อการเรียนการสอนและสื่อออนไลน์ จำนวน 2 สื่อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 64,000.00 บาท 64,000.00 บาท 0.00 บาท 128,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารวบรวมข้อมูลฟาร์มเพื่อใช้ออกแบบบทเรียนออนไลน์ จำนวน 2 ฟาร์ม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,600.00 บาท 13,800.00 บาท 13,800.00 บาท 32,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 65,000.00 บาท 65,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 265200.00
ผลผลิต : กิจกรรมย่อยที่ 3. จัดการอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การใช้งานและติดตั้งระบบอุปกรณ์ในระบบการทำการเกษตรแบบแม่นยำและฟาร์มอัจฉริยะ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 3. จัดการอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การใช้งานและติดตั้งระบบอุปกรณ์ในระบบการทำการเกษตรแบบแม่นยำและฟาร์มอัจฉริยะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์  กาญจนประโชติ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่บริหารโครงการ จำนวน 1 คน จำนวน 7 เดือน ๆ ละ 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท 70,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำเอกสารประชาสัมพันธ์งานอบรมออนไลน์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 85,600.00 บาท 85,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่บริหารจัดการและติดตามเก็บข้อมูลการอบรมออนไลน์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 96,000.00 บาท 96,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผลิตสื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรอบรมออนไลน์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 104,000.00 บาท 104,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,700.00 บาท 0.00 บาท 24,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 380300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล