15469 : โครงการค่ายหนุ่มสาวอาสาพัฒนาชนบท ประจำปี2563
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
นายจิระศักดิ์ นางเมาะ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/1/2563 14:59:20
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
23/12/2562  ถึง  15/06/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  65  คน
รายละเอียด  อาจารย์ จำนวน 2 คน เจ้าหน้าที่ จำนวน 3 คน นักศึกษา จำนวน 60 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 65 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองพัฒนานักศึกษา หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบพัฒนานักศึกษา(องค์การนักศึกษา) 2563 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. อภินันท์  สุวรรณรักษ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. นิโรจน์  สินณรงค์
นาย จิระศักดิ์  นางเมาะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาย สุกิจ  ติดชัย
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองพัฒนานักศึกษา
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 1.การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 63 MJU 1.5.3 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้านตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ก่อนสำเร็จการศึกษา
กลยุทธ์ 61-64MJU1.5.6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านการพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 63 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 63MJU 1.5.3 ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน ตามเกณฑ์ สกอ.ก่อนสำเร็จการศึกษา
กลยุทธ์ 63MJU 1.5.4 พัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนด้วยการพัฒนาพื้นที่แห่งการเรียนรู้ของนักศึกษา Learning Space
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยหมู่บ้านห้วยเกิด ตำบลบ้านหลวง อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ห่างไกลจากตัวอำเภอแม่อายประมาณ 34 กิโลเมตร โดยมีประชากรในหมู่บ้านประมาณ 74 คน และอาศัยอยู่ 14 หลังคาเรือน ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก คือ ทำสวน ทำไร่ ปลูกข้าวก่ำ กาแฟ ข้าวโพด และเลี้ยงสัตว์ จากการไปสำรวจหมู่บ้านนี้แล้วศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขาบ้านห้วยเกิด มีนักเรียนทั้งหมด 74 คน ลักษณะการเรียนการสอนเป็นแหล่งศึกษาผู้ใหญ่ มีไฟฟ้าพลังงานน้ำอย่างจำกัด ใช้ได้แค่ไฟแสงสว่างตอนกลางคืน โดยภายในหมู่บ้านได้มีกรมป่าไม้ มาแนะแนวกับการสร้างป่าสร้างรายได้ และเคยมีกรมพัฒนาสังคมสงเคราะห์มาสอนการทำกาแฟ แต่อย่างไรก็ตามภายในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขาบ้านห้วยเกิดยังมีปัญหาที่ต้องการได้รับการแก้ไขหรือการช่วยเหลือ ได้แก่ ซ่อมแซมอาคารเรียน เปลี่ยนหลังคา ทาสีใหม่ ทำบันได ซ่อมแซมห้องน้ำ และซ่อมแซมห้องสมุด เนื่องจากมีอายุการใช้งานมาอย่างยาวนานทำให้เกิดการทรุดโทรมและควรได้รับการแก้ไข ดังนั้นทางชมรมกลุ่มนกเสรีเพื่อโรงเรียนในชนบทได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้ริเริ่มจัดทำโครงการนี้ขึ้น โดยโครงการค่ายหนุ่มสาวอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 3 เป็นโครงการที่เน้นกิจกรรมการก่อสร้างภายในโรงเรียน และปลูกจิตสำนึกต่อเพื่อนมนุษย์ที่ควรจะได้รับโอกาสในสถานศึกษาที่เหมาะสม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อปรับทัศนียภาพภายในโรงเรียนให้มีความเหมาะสมแก่นักเรียนมากขึ้น
เพื่อเปิดโลกทัศน์ใหม่ให้แก่ชาวค่าย โดยการศึกษาเรียนรู้ผ่านกระบวนการและกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การก่อสร้างภายในโรงเรียน และการได้มาเห็นวิถีชีวิตของชาวบ้านภายในหมู่บ้าน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันระหว่างชุมชนกับนักศึกษาทำให้เกิดมิตรภาพไมตรีจิตที่ดีต่อกัน
KPI 1 : ร้อยละนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการจากกลุ่มเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ระดับความต้องการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : ระดับความพึงพอใจของนักเรียนศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทย ภูเขาบ้านห้วยเกิด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 4 : ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการดำเนินงาน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันระหว่างชุมชนกับนักศึกษาทำให้เกิดมิตรภาพไมตรีจิตที่ดีต่อกัน
ชื่อกิจกรรม :
ค่ายสร้างหนุ่มสาวอาสาพัฒนาชนบท

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/12/2562 - 15/06/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์  สุวรรณรักษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายจิระศักดิ์  นางเมาะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารจำนวน 50 คน x 8 วันละx 100 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
40,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล