15257 : โครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนที่บูรณาการร่วมกับการเรียนการสอน การวิจัย และการทำนุบำรุงวัฒนธรรม(ลวงเหนือ)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.ศุภลักษณ์ ดีน้อย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 6/2/2563 14:24:36
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
11/02/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  กลุ่มผู้สูงอายุพื้นที่ตำบลลวงเหนือ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 20 คน นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ รายวิชา นศ231เทคโนโลยีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ จำนวน 10 คน นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ รายวิชา ศอ372 ภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จำนวน 10 คน นักศึกษาชาวจีน รายวิชา ศป032 ภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ จำนวน 7 คน นักศึกษาสโมสรคณะศิลปศาสตร์ จำนวน 3 คน คณาจารย์และ เจ้าหน้าที่คณะศิลปศาสตร์ 10 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน (โครงการตามภารกิจยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยที่ 4) 2563 15,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชยุตภัฎ  คำมูล
น.ส. ศุภลักษณ์  ดีน้อย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.1.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนแม่บทบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.7 พัฒนาระบบบริหารงานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA63-4 การบริการวิชาการที่เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของท้องถิ่นชุมชนและสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าประสงค์ LA63-4.1การบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่พัฒนาและตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตัวชี้วัด LA63-4.1.1 ร้อยละของโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนที่บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดในโครงการ 100%
กลยุทธ์ LA63-4.1.1ส่งเสริมความร่วมมือการจัดทำโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาและตอบสนองความต้องการของชุมชน
เป้าประสงค์ LA63-4.2 มีการบริการวิชาการที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา
ตัวชี้วัด LA63-4.2.3 ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา ที่บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดในโครงการ 100% (GE)
กลยุทธ์ LA63-4.2.1ส่งเสริมให้มีการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

อาหารถือเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่สำคัญสำหรับการดำรงชีวิต การเลือกบริโภคอาหารสามารถส่งผลถึงสุขภาพระยะยาวได้โดยตรง ด้วยเหตุนี้ การเลือกอาหารให้เหมาะสมตามหลักโภชนาการ จึงเป็นสิ่งสำคัญมากในการมีสุขภาพที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุ ซึ่งเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของอวัยวะต่างๆในร่างกายทำงานลดลง การเลือกรับประทานอาหารพื้นบ้าน ที่มีอยู่ในท้องถิ่นได้ถูกนำมาประกอบการทำเป็นอาหารเพื่อการดำรงชีวิตมาโดยตลอด แต่หากพิจารณาถึงหลักโภชนาการแล้ว กลุ่มผู้สูงอายุอาจยังไม่เข้าใจและไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าที่ควร เมื่อปลายปี 2561 ที่ผ่านมามีบุคลากรได้ลงพื้นที่ทำการวิจัย ชุดโครงการการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และได้รับข้อมูลจากชุมชนว่า ต้องการให้คณะศิลปศาสตร์มาให้บริการวิชาการแก่ชุมชนให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการของผู้สูงอายุ คณะศิลปศาสตร์ ๆ ได้นำมาพิจารณาโดยผ่านคณะกรรมการบริการวิชาการ จึงเห็นควรให้มีการจัดอบรมถ่ายทอดความรู้ กล่าวคือ 1. ให้บริการด้านการตรวจวัดสุขภาพ และให้ความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุผ่านอาหารพื้นบ้าน 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยา อารมณ์/ดนตรี ศิลปะ โดยอาจารย์กลุ่มวิชาสหวิทยาการสังคมศาสตร์ และ 3) ถ่ายทอดความรู้จากผลงานวิจัยเรื่อง การรับประทานอาหารไทยตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ และกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุ ของผู้ช่วยศาสตราจารย์กิติพงษ์ ขัติยะ อีกทั้งยังมีการบูรณาการกับรายวิชาในหลักสูตรของคณะฯ ซึ่งจะเป็นการนำนักศึกษาบางส่วนเข้าร่วมทำกิจกรรมกับชุมชนและเรียนรู้วัฒนธรรมการทำอาหารพื้นบ้าน นอกจากนี้ จะได้จัดทำองค์ความรู้เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้านถ่ายทอดทางสื่อวิดีทัศน์เผยแพร่ในเว็บไซต์คณะต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้หลักโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุผ่านอาหารพื้นบ้าน
เพื่อบูรณาการบริการวิชาการเข้ากับการเรียนการสอนและพัฒนานักศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : คณะศิลปศาสตร์จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุผ่านอาหารพื้นบ้าน ให้ความรู้ด้านจิตวิทยา ด้านอารมณ์สังคม ศิลปะในกลุ่มผู้สูงอายุ และให้บริการตรวจวัดสุขภาพ
KPI 1 : ความรู้เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้านสำหรับผู้สูงอายุ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 2 : นักศึกษาได้รับการส่งเสริมศักยภาพผ่านการจัดทำวิดีทัศน์เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้าน(บรรยายภาษาไทย อังกฤษ จีน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 คลิป 1
KPI 3 : การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อการปรุงอาหารในชีวิตประจำวัน อยู่ในระดับมาก
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนรายวิชาการที่มีการบูรณาการ (วิชา นศ.231, ศอ 372,ศป 032)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 รายวิชา 3
KPI 5 : จำนวนงานวิจัยที่เผยแพร่สู่ชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : คณะศิลปศาสตร์จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุผ่านอาหารพื้นบ้าน ให้ความรู้ด้านจิตวิทยา ด้านอารมณ์สังคม ศิลปะในกลุ่มผู้สูงอายุ และให้บริการตรวจวัดสุขภาพ
ชื่อกิจกรรม :
คณะศิลปศาสตร์จัดกิจกรรมให้บริการตรวจวัดสุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุผ่านอาหารพื้นบ้าน ความรู้ด้านจิตวิทยา ด้านอารมณ์สังคม ศิลปะในกลุ่มผู้สูงอายุ ณ ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยไตลื้อ บ้านใบบุญ หมู่ 4 ณ ต.ลวงเหนือ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ เวลา 08.30 -15.00 น. ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้เวลา
08.30 – 09.00 น. ให้บริการวัดความดัน ตรวจสุขภาพเวลา
09.00 – 12.00 น. ลงแปลงเกษตรอินทรีย์ ทำอาหาร ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการโดยกลุ่มวิชาพัฒนาสุขภาพ เวลา
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหาร
13.00 – 15.00 น. ให้ความรู้ ด้านจิตวิทยา อารมณ์/ดนตรี ศิลปะและให้ความรู้เกี่ยวกับ กิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุและรับชมกิจกรรมการฟ้อนของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 19/02/2563 - 19/02/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยุตภัฎ  คำมูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศุภลักษณ์  ดีน้อย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (60คนX150บาทX1มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (60คนX30บาทX2มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าบำรุงรถ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดทำป้ายไวนิล
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง และอื่นๆ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล