15178 : โครงการการศึกษาเรียนรู้ตามเส้นทางการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกอบรมมัคคุเทศก์ทั่วไป
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์ โตคีรี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2563 14:19:12
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/01/2563  ถึง  20/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  47  คน
รายละเอียด  1 นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยวเฃิงบูรณาการ ฃั้นปีที่ 1 จำนวน 14 คน 2 นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยวเฃิงบูรณาการ ฃั้นปีที่ 2 จำนวน 14 คน 3 นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยวเฃิงบูรณาการ ฃั้นปีที่ 3 (เทียบเข้าเรียน 2 ปี) จำนวน 9 คน 4 นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยวเฃิงบูรณาการ ฃั้นปีที่ 4 (เทียบเข้าเรียน 2 ปี) จำนวน 8 คน 5 คณะอาจารย์สาขาวิชาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ จำนวน 2 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 2563 94,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วีรภรณ์  โตคีรี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 1.การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 63 MJU 1.5.3 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้านตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ก่อนสำเร็จการศึกษา
กลยุทธ์ 61-64MJU1.5.6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านการพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่เชี่ยวชาญทางด้านวิชาการและวิชาชีพที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
เป้าประสงค์ 1.1 การจัดการศึกษาที่ส่งเสริมกการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด 1.1.2 ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน
กลยุทธ์ 2. พัฒนาสิ่งสนับสนุนด้านการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มัคคุเทศก์เป็นอาชีพบริการที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก เพราะมัคคุเทศก์เป็นผู้ทำหน้าที่สื่อสารข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยวต่าง กฎ กติกา มารยาทต่างๆ ไปยังนักท่องทั้งเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และอำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวให้เกิดความประทับใจ สร้างความเชื่อมั่นแก่นักท่องเที่ยว ส่งผลดีต่อการท่องเที่ยวภายในประเทศและภาคบริการอื่นๆ ก่อให้เกิดรายได้เข้าประเทศอย่างมหาศาล สาขาวิชาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ ได้ดำเนินการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการศึกษาด้านการวางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน และมีการพัฒนาระบบการเรียนการสอนให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ และมีการปฏิบัติงานจริงทั้งในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมมาโดยตลอด โดยเฉพาะการศึกษาเรียนรู้ควบคู่กับการปฏิบัติงานด้านมัคคุเทศก์ในแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ทั้งทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมตามเส้นทางที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กำหนดไว้ตามหลักสูตรการฝึกอบรมมัคคุเทศก์ทั่วไป และได้นำหลักสูตรดังกล่าว มากำหนดไว้ในวิชาเสริมสร้างประสบการณ์แหล่งท่องเที่ยวภายในประเทศ ที่เน้นการศึกษาดูงานด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและธรรมชาติให้แก่นักศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยเส้นทางเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ในเขตภาคกลางครอบคลุมกรุงเทพมหานคร จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดเพชรบูรณ์ การศึกษาดูงานตามสถานที่ดังกล่าวข้างต้น นอกจากจะเกิดประโยชน์แก่นักศึกษาแล้ว ขณะเดียวกันยังเพิ่มประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ วิชาการวางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยว วิชาประวัติศาสตร์ไทยเพื่อการท่องเที่ยว วิชาการจัดการการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ วิชาสื่อความหมาย การจัดการที่พักแรม การจัดการผลกระทบทางการท่องเที่ยว และวิชาหลักการมัคคุเทศก์ เป็นต้น ในการนี้ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและสร้างประสบการณ์การเรียนรู้แก่นักศึกษาสาขาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการและเป็นการศึกษาเรียนรู้ตามเส้นทางที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกอบรมมัคคุเทศก์ทั่วไป สาขาวิชาการท่องเที่ยวเฃิงบูรณาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร จึงขอจัดทำโครงการการศึกษาเรียนรู้ตามเส้นทางที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกอบรมมัคคุเทศก์ทั่วไป ประจำปี 2562

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาดูงานตามเส้นทางที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กำหนด สอดคล้องกับหลักการจัดอบรมหลักสูตรมัคคุเทศก์ทั่วไป นักศึกษาได้รับใบอนุญาตบัตรมัคคุเทศก์ทั่วไป สามารถนำไปประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ทั่วไป และสามารถนำเที่ยวได้ทั่วประเทศ
2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการภายในแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
3 เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะการเป็นมัคคุเทศก์ และปฏิบัติงานจริงภายในแหล่งท่องเที่ยวแต่ละประเภทที่มีศักยภาพและรูปแบบการจัดการแตกต่างกัน
4 เพื่อเสริมสร้างเจตคติที่ดีด้านการบริการ และการบริหารจัดการภายในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาสามารถเป็นมัคคุเทศก์นำเที่ยวทั่วไปตามเส้นทางท่องเที่ยวที่สำคัญทางธรรมชาติและประวัติศาสตร์ตามเส้นทางที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.) กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกอบรมมัคคุเทศก์ทั่วไป
KPI 1 : นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจด้านการบริการและการบริหารจัดการภายในแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและธรรมชาติ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินผลการเป็นมัคคุเทศก์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
47 คน 47
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่สำเร็จตามเวลา
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาในการเดินทางทัศนศึกษาตามเส้นทางท่องเที่ยว
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาสามารถเป็นมัคคุเทศก์นำเที่ยวทั่วไปตามเส้นทางท่องเที่ยวที่สำคัญทางธรรมชาติและประวัติศาสตร์ตามเส้นทางที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.) กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกอบรมมัคคุเทศก์ทั่วไป
ชื่อกิจกรรม :
นำนักศึกษาศึกษาเส้นทางท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในอุทยานแห่งชาติและแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนในแหล่งท่องเที่ยวเขตภาคกลางครอบคลุมกรุงเทพมหานคร จังกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดสุโขทัยจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดเพชรบูรณ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/09/2563 - 15/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.บุญศิลป์  จิตตะประพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ  รักษาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์  ทองสง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก) เป็นเงิน 12,960 บาท
- ค่าจ้างเหมารถบัส จำนวน 1 คันๆ ละ 5 วัน ๆ ละ 13,400 บาท เป็นเงิน 67,000 บาท
- ค่าของที่ระลึก จำนวน 6 ชิ้น ๆ ละ 1000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 85,960.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 85,960.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 9 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 600 บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร 2,040 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,640.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,640.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 94000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล