15162 : โครงการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะเกษตรด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.เบญจวรรณ จันทร์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/2/2563 14:37:54
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/12/2562  ถึง  31/03/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4) 2563 15,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว
นาย เอกพันธ์  กูนโน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ดร. วีร์  พวงเพิกศึก
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.1.6 จำนวนองค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (Vision KPI) (Inc. B)
กลยุทธ์ 63-64MJU4.1.12 พัฒนาองค์ความรู้และผลักกดันสู่การยอมรับ (ดูงาน ฝึกอบรม เชิญเป็นวิทยากร นำไปใช้ประโยชน์ ฯลฯ) ในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 62ECON-3 การบริการวิชาการเพื่อชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ 62ECON 3.2 บูรณาการการมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการทั้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก
ตัวชี้วัด 62ECON 3.3 จำนวนครั้งในการให้บริการทางวิชาการแก่หน่วยงานภายนอก
กลยุทธ์ 62ECON 3.3.1 ให้บริการแก่หน่วยงานภายนอกในการวิเคราะห์ข้อมูล/ สำรวจความคิดเห็น
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63ECON-4 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 63ECON 4.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมกับพันธกิจอื่น
ตัวชี้วัด 63ECON 4.3 ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดของโครงการ
กลยุทธ์ 63ECON 4.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการบูรณาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมกับกิจกรรมนักศึกษา
ตัวชี้วัด 63ECON 4.4 ร้อยละโครงการหรือกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่นของคณะ
กลยุทธ์ 63ECON 4.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการบูรณาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมกับกิจกรรมนักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในฐานะเป็นหน่วยงานที่มีการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นการสร้างผู้ที่มีความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์มีการเรียนการสอนด้านการเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ รวมถึงด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ในมุมมองทางด้านเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ที่ครอบคลุมในหลายๆ ด้านที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับการเกษตรที่เป็นรากฐานสำคัญของสังคมไทย แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงจำเป็นอย่างยิ่งต่อการนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนการสอนแก่นักศึกษา เพื่อให้ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง มีความเข้าใจในในหลักการและพื้นฐานทางการเกษตรโดยผ่านการปฏิบัติ ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งคณะเศรษฐศาสตร์ได้รับการจัดสรรพื้นที่ภายในฟาร์มมหาวิทยาลัยสำหรับใช้เป็นสถานที่ฝึกงานของนักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร์ โดยที่ผ่านมาได้มีการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ ซึ่งมีการดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตการผลิตไม้ผล รวมถึงการผลิตพืชผัก ซึ่งได้เริ่มดำเนินการผลิตมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 โดยปัจจุบันจัดจำหน่ายภายใต้โครงการกาดแม่โจ้ 2477 ทั้งนี้เพื่อเป็นการขยายศักยภาพด้านการผลิตพืชผักของศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติและพัฒนาการผลิตให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงการสนองยุทธศาสตร์ด้านผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยมากขึ้น ศูนย์วิจัยฯ จึงจัดทำ โครงการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะเกษตรด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตสินค้าเกษตร โดยเฉพาะพืชผักของศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ รวมถึงการผลิตปัจจัยการผลิตที่มาจากเศษวัสดุที่มีอยู่ ซึ่งจะเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างหมุนเวียนและเป็นการนำวัสดุเหลือใช้ให้เกิดประโยชน์ ลดการเผา ซึ่งจะช่วยลดการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนให้แก่นักศึกษา
พัฒนาพื้นที่สำหรับการผลิตพืชผักอินทรีย์ เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกษตรด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาที่เข้ารับการอบรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อพัฒนาทักษะเกษตรด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (จำนวน 100 คน))
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 80 ร้อยละ 100
KPI 2 : ระดับความรู้ความเข้าใจต่อการผลิตพืชผักอินทรีย์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกษตรด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการผลิตปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมักเพื่อบำรุงพืชผักและป้องกันแมลงศัตรูพืช

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/12/2562 - 31/01/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับนักศึกษา จำนวน 20 คนๆ ละ 35 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงินจำนวน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
700.00 บาท 700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม เป็นเงินจำนวน 2,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,300.00 บาท 1,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4000.00
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมให้ความรู้และการฝึกปฏิบัติการปลูกผักอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/02/2563 - 14/03/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับนักศึกษา จำนวน 20 คนๆ ละ 35 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงินจำนวน 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
นักศึกษาต้องเข้าร่วมกิจกรรมอื่นๆ ในช่วงวันพุธ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
แจ้งรับสมัครนักศึกษาที่เข้าร่วมแต่เนิ่นๆ
เพิ่มจำนวนครั้งในการจัดกิจกรรม เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าร่วมได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล