15009 : โครงการบัณฑิตจิตอาสา พัฒนาชุมชน ประจำปี 2563
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก สังข์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/2/2563 8:26:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/02/2563  ถึง  01/02/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ชั้นปีที่ 3 จำนวน 76 คน อาจารย์ 1 คน และชาวบ้านจำนวน 23 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1) 2563 24,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรศักดิ์  โพธิอุโมงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 1.การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 63 MJU 1.5.6 ระดับความสำเร็จการประเมินผลของนักศึกษาที่ผ่านการใช้ทักษะชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU1.5.9 สร้างข้อมูลเนื้อหาเพื่อสร้างแบบสอบถามเพื่อทำการประเมิน -หาแนวทางในการส่งและรับคืนแบบสอบถามให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด -ชี้แจงการตอบแบบประเมินเพื่อให้ได้ผลการประเมินที่เป็นความจริงมากที่สุด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63ECON-1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 63ECON 1.3 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตาม อัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 63ECON 1.6 คุณภาพบัณฑิตทุกระดับการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต)
กลยุทธ์ 63ECON 1.6.4 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สนองอัตลักษณ์ของคณะ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบัน “สังคมไทย” โดยเฉพาะนักศึกษา และเยาวชนไทย ถูกกระแสแห่งวัตถุนิยมครอบงำจนทำให้ “ค่านิยม” อันดีงามของไทย ค่อย ๆ เลือนหายไปจากสังคมไทย ทั้งเรื่อง “คุณธรรม จริยธรรม” "จิตอาสา" "วัฒนธรรมอันดีงาม" ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงภาพลักษณ์ของวิถีชีวิตที่กำลังจะเปลี่ยนไป ดังนั้นจึงจำเป็นต้องให้ความรู้และเสริมสร้างทัศนคติที่ดีให้กับนักศึกษา ให้ได้มี “จิตสำนึกที่ถูกต้อง มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย” เพื่อเป็น “ภูมิคุ้มกัน” ให้นักศึกษา ทั้งในครอบครัว สถานศึกษา สามารถเป็นเกราะป้องกันอย่างรู้เท่ารู้ทัน รู้กัน รู้แก้ได้ ตามสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้สังคมแข็งแรง รวมเป็น “พลังแผ่นดิน” ช่วยกันกำจัดให้ปัญหาเหล่านั้นหมดไปจากสังคมไทยให้เป็น “สังคมน่าอยู่” อันเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเป็นพลานุภาพของชาติสืบไป หลักสูตรเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้เล็งเห็นว่า การให้โอกาสนักศึกษาได้เข้าไปเรียนรู้ศึกษาชุมชนและมีส่วนร่วมกับชุมชนในการทำงานพัฒนาพื้นที่ชุมชน มีความตระหนักถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อมร่วมกัน มีกิจกรรมสัมพันธ์ร่วมกัน จะเป็นส่วนหนึ่งให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมอันดีงาม ทำให้นักศึกษามีจิตอาสา และมีคุณธรรมจริยธรรม จึงได้จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนพร้อมทั้งเรียนรู้วิถีชุมชน ณ โรงเรียนออนใต้วิทยา ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 - 1 มีนาคม 2563

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้วิถีชุมชน ศิลปะและวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม
เพื่อให้นักศึกษาได้มีจิตอาสาในการบำเพ็ญประโยชน์พัฒนาชุมชน และมีคุณธรรมจริยธรรม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้เรียนรู้วิถีชุมชน และมีจิตอาสาในการบำเพ็ญประโยชน์พัฒนาชุมชน
KPI 1 : นักศึกษาได้เรียนรู้วิถีชุมชน ศิลปะและวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 2 : ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 3 : ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมายที่กำหนด(76 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้เรียนรู้วิถีชุมชน และมีจิตอาสาในการบำเพ็ญประโยชน์พัฒนาชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
เรียนรู้ฐานวัฒนธรรมชุมชน และการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/02/2563 - 01/03/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารเช้า(วันที่ 1 มีนาคม 63) จำนวน 100 คนๆละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน(วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 63) จำนวน 100 คนๆละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน(วันที่ 1 มีนาคม 63) จำนวน 100 คนๆละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารเย็น(วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 63) จำนวน 100 คนๆละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 คนๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล