14876 : โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.พัชรกิต วัชรปรีชา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/10/2562 9:48:27
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2562  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  นักศึกษาคณะสัตวศาสตร์ฯ นักศึกษาชาวต่างชาติ คณาจารย์ บุคลากร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2563 85,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา  ชูเกียรติศิริ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 5.การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 5.1 การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 63 MJU 5.1.1 ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดในแผนทำนุบำรุงบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.2 ส่งเสริมให้นักศึกษาและบุคลากร ได้สืบสานประเพณีวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 63 MJU 5.1.3 จำนวนนักศึกษาต่างชาติและชาวต่างชาติที่ได้รับการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนา หรือวัฒนธรรมการเกษตร
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.6 พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ให้น่าสนใจและทันสมัย
ตัวชี้วัด 63 MJU 5.1.4 ร้อยละของโครงการหรือกิจกรรมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63.4 การดำรงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ ุ63.4-1 มีเครือข่ายความร่วมมือด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด AS 63.4-1 ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดในแผนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (สกอ./ม.)
กลยุทธ์ 63.4-1 พัฒนางานด้านศิลปวัฒนธรรมให้เป็นเอกลักษณ์ของคณะ
กลยุทธ์ ุ63.4-2 สร้างเครือข่ายและความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด AS 63.4-2 จำนวนเครือข่ายความร่วมมือทางด้านศิลปวัฒนธรรมล้านานานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (คณะ)
กลยุทธ์ 63.4-1 พัฒนางานด้านศิลปวัฒนธรรมให้เป็นเอกลักษณ์ของคณะ
ตัวชี้วัด AS 63.4-3 จำนวนนักศึกษาต่างชาติและชาวต่างชาติที่ได้รับการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนา (ม.)
กลยุทธ์ 63.4-1 พัฒนางานด้านศิลปวัฒนธรรมให้เป็นเอกลักษณ์ของคณะ
กลยุทธ์ ุ63.4-2 สร้างเครือข่ายและความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด AS 63.4-4 ร้อยละของโครงการหรือกิจกรรมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น (ม.)
กลยุทธ์ 63.4-1 พัฒนางานด้านศิลปวัฒนธรรมให้เป็นเอกลักษณ์ของคณะ
กลยุทธ์ ุ63.4-2 สร้างเครือข่ายและความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นคณะฯ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบัณฑิตทางสัตวศาสตร์และสัตวบาล เพื่อสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานด้านการเลี้ยงสัตว์ เช่น ด้านสุกร , สัตว์ปีก และด้านโคนมและโคเนื้อ ทั้งนี้ได้ส่งเสริมให้บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมด้านการสืบสานประเพณี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอันดีงามให้คงอยู่สืบไป ประเพณีลอยกระทงเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เพื่อเป็นการขอขมาเจ้าแม่คงคา ซึ่งแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยมีการจัดงานลอยกระทงในรูปแบบต่าง ๆ กัน สำหรับในจังหวัดเชียงใหม่นั้นก็มีเอกลักษณ์จำเพาะที่ไม่เหมือนกับพื้นที่อื่น ๆ การจะให้นักศึกษา ซึ่งมาจากหลายภูมิภาคของประเทศได้เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวล้านนา โดยจัดกิจกรรมให้คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และชาวบ้านหมู่บ้านวิเวก ได้ทำกระทง โคมลอย และโคมไฟลอดห่วงร่วมกัน ทำให้มีการเรียนรู้ถึงศิลปะในการทำกระทง โคมลอย และโคมไฟลอดห่วงตามรูปแบบของชาวล้านนา และเป็นการสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างคณาจารย์ บุคลากร นักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี และชาวบ้านหมู่บ้านวิเวก การทำบุญให้สัตว์ทดลอง เป็นกิจกรรมที่ทำสืบทอดกันมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งแต่ละปีการศึกษาคณะฯ มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่น้อยกว่า 200 คน โดยในระหว่างการศึกษานักศึกษาต้องมีการเรียนในภาคปฏิบัติ ซึ่งต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับตัวสัตว์ ทั้งทางตรงและทางอ้อม มีการใช้ตัวอย่างเนื้อเยื่อจากสัตว์สำหรับการเรียนการสอน และการวิจัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งจากตัวอย่างจากสัตว์ที่มีอยู่ในฟาร์มของคณะฯ หรือจากการซื้อตัวอย่างสัตว์จากภายนอกเพื่อใช้ในการศึกษาของนักศึกษา สิ่งต่าง ๆ ดังกล่าวจึงนับเป็นสิ่งที่มีความสำคัญหรือเป็นส่วนที่ใช้ประโยชน์ในการศึกษาที่เปรียบเสมือนครูอาจารย์สำหรับชาวสัตวบาลทั้งหลายเช่นกัน ดังนั้นเพื่อเป็นการตอบแทนการเสียสละของสัตว์ทดลองดังกล่าวในการเป็นสิ่งศึกษาหรือสิ่งทดลองของคณะฯ คณะฯ จึงจัดพิธีการทำบุญให้สัตว์ทดลอง เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้แสดงการขอบคุณต่อสัตว์ทดลองที่เสียสละชีวิตเพื่อเป็นสิ่งศึกษาของนักศึกษา และเป็นการสร้างธรรมเนียมที่ดีในการรู้จักการตอบแทนคุณผู้มีพระคุณ ประเพณีวันสงกรานต์หรือปี๋ใหม่เมือง เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมายาวนาน เป็นประเพณีที่บ่งบอกถึงการเปลี่ยนศักราชตามความเชื่อระบบจัทรคติ และความเชื่อดั้งเดิมของไทย โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือหรือที่เรียกว่าล้านนา ประเพณีสงกรานต์หรือปี๋ใหม่เมืองจะมีลักษณะเฉพาะถิ่นแตกต่างจากที่อื่น ๆ อาทิเช่น การรดน้ำดำหัวผู้เฒ่าผู้แก่ ครูบาอาจารย์ที่เคารพนับถือ เป็นต้น ดังนั้นเพื่อให้เกิดการดำรงอยู่และสืบทอดประเพณีอันดีงามนี้ คณะสัตวศาสตร์ฯ จึงได้จัดโครงการสืบสานศิลปวัฒธรรมสงกรานต์ (ปี๋ใหม่เมือง) โดยจัดกิจกรรมให้บุคลากรและนักศึกษาได้ร่วมรดน้ำดำหัวอาจารย์อาวุโสและบุคลากรอาวุโส เป็นการสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคลากรและนักศึกษาภายในคณะฯ พุทธศาสนา เป็นศาสนาประจำชาติไทย และเป็นศาสนาที่สืบทอดกันมายาวนานถึง 2560 ปี มีวันสำคัญต่าง ๆ ประจำศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา เป็นต้น อนึ่ง วันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งที่พระพุทธองค์ พระศาสดาได้บัญญัติไว้ให้มีกำหนดการวันเข้าพรรษาในฤดูฝน ตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงแรม 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปีโดยมีความสำคัญ เพื่อให้พระสงฆ์ได้จำพรรษาอยู่กับที่เพื่อจะได้ศึกษาพระธรรมและเพื่อมิให้เป็นการเดินทางไปตามชนบทต่าง ๆ ซึ่งในอดีตกาลตามท้องทุ่งเป็นฤดูทำนาของชาวบ้านเมื่อพระสงฆ์เดินธุดงค์ไปมา สร้างความเสียหายให้แก่ข้าวกล้าในนาข้าว พระพุทธองค์จึงบัญญัติให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่กับที่เพื่อมิให้เป็นการทำลายข้าวกล้าในนา และเป็นการให้พระสงฆ์ได้ศึกษาพระธรรม เมื่อพระสงฆ์ศึกษาพระธรรมในยามราตรีกาลก็เกิดความมืดมิดจึงจำเป็นต้องใช้แสงสว่างในการปฏิบัติธรรม จึงได้มีประเพณีการถวายเทียนจำนำพรรษาแก่พระสงฆ์ได้ใช้แสงสว่างจากเทียนในการศึกษาพระธรรมในยามราตรี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีได้ให้ความสำคัญในประเพณีดังกล่าว จึงควรให้มีการจัดถวายเทียนพรรษาขึ้นเพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาของคณะฯ ได้เข้าร่วมประเพณีถวายเทียนพรรษา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของประเพณี ศาสนา และวัฒนธรรมของไทย
เพื่อให้มีการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างบุคลากร นักศึกษา และผู้อาวุโส
เพื่อสืบทอดขนบธรรมเนียมและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามให้คงอยู่ต่อไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : บุคลากรและนักศึกษา ได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาและบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 50 คน 250
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จในระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 3 : บุคลากรและนักศึกษาร่วมสืบทอดประเพณีอันดีงามของไทยไว้ต่อไป
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ระดับความสำเร็จจากงบประมาณเมื่อเปรียบเทียบกับผลผลิตที่ได้รับ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ระดับ 4
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : บุคลากรและนักศึกษา ได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม
ชื่อกิจกรรม :
การสืบสานศิลปวัฒนธรรมประเพณียี่เป็ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 05/11/2562 - 05/11/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา  ชูเกียรติศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.พัชรกิต  วัชรปรีชา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภากร  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 200 คนๆละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 16,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 200 คนๆละ 25 จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
ค่าเงินรางวัลการแข่งขันโคมไฟประดับ เป็นเงิน 2,000 บาท
ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำป้ายไวนิล เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
23,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 23,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุที่ใช้ในการแข่งขันโคมไฟประดับ เช่น กระดาษสา, กาว เป็นเงิน 5,000 บาท
ค่าวัสดุตกแต่งสถานที่ เช่น ลวด, เชือกฟาง เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมทำบุญให้สัตว์ทดลอง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/04/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา  ชูเกียรติศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.พัชรกิต  วัชรปรีชา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภากร  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 120 คนๆ ละ 25 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าจ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิล เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าสังฆทาน ดอกไม้ ธูป เทียน จำนวน 12 ชุดๆละ 800 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
ค่าวัสดุที่ใช้ในกิจกรรม เช่น ปิ่นโต เป็นเงิน 1,900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15000.00
ชื่อกิจกรรม :
การสืบสานศิลปวัฒนธรรมวันสงกรานต์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/04/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา  ชูเกียรติศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.พัชรกิต  วัชรปรีชา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภากร  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 120 คนๆละ 80 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 9,600 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 120 คนๆละ 25 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าเงินรางวัลประกวดลาบ เป็นเงิน 1,300 บาท
ค่าเงินรางวัลประกวดแกงอ่อม เป็นเงิน 1,300 บาท
ค่าจ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิล เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุใช้ดำหัวผู้อาวุโสจำนวน 20 ชุดๆ 365 บาท เป็นเงิน 7,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23000.00
ชื่อกิจกรรม :
การทำบุญถวายเทียนพรรษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2563 - 31/07/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา  ชูเกียรติศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.พัชรกิต  วัชรปรีชา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภากร  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 100 คน ๆละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 8,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
ค่าจ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิล เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุที่ใช้ในกิจกรรม เช่น ค่าเทียน , ผ้าอาบน้ำฝน , ค่าดอกไม้ ธูป เทียน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล