14270 : โครงการพัฒนานักธุรกิจรุ่นเยาว์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นายปริญญา วงศ์จักร์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/8/2562 11:03:36
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/08/2562  ถึง  13/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษาคณะสัตวศาสตร์
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2562 41,500.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. กฤดา  ชูเกียรติศิริ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61MJU1.5.1 ร้อยละของโครงการพัฒนานักศึกษาที่ใช้เพื่อพัฒนาทักษะของนักศึกษา เช่น ภาษาอังกฤษ IT/ ทักษะวิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะด้านภาษา IT และทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 62-1 การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ
เป้าประสงค์ 62-1.1 ผลิตบัณฑิตที่เป็นมืออาชีพด้านสัตวศาสตร์ (มืออาชีพ เน้น ทักษะเชิงปฏิบัติ, มีภาวะผู้นำ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21)
ตัวชี้วัด AS 62.1-13 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ก่อนสำเร็จการศึกษา (ม.)
กลยุทธ์ 62.1-5 พัฒนาสมรรถนะและทักษะของนักศึกษาให้รองรับการแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ
เป้าประสงค์ 62-1.3 นักศึกษามีความรู้ และทักษะในด้านสัตวศาสตร์ ควบคู่คุณธรรมและจริยธรรม
ตัวชี้วัด AS 62.1-5 คุณสมบัติทุกระดับการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ม.)
กลยุทธ์ 62.1-5 พัฒนาสมรรถนะและทักษะของนักศึกษาให้รองรับการแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีได้พัฒนารูปแบบการบูรณาการการเรียนการสอนเพื่อการบ่มเพาะผู้ประกอบธุรกิจทางสินค้าเกษตรโดยเฉพาะด้านสินค้าปศุสัตว์ สำหรับนักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี ในโครงการ “พัฒนานักธุรกิจรุ่นเยาว์” เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในภาพการดำเนินธุรกิจเบื้องต้นผ่านการลงมือปฎิบัติเกิดความเชื่อมั่นตัวเอง ความเชื่อมั่นในความสามารถตนเอง เป็นหลักสำคัญในการดำเนินธุรกิจสู่ความสำเร็จ ซึ่งนักศึกษาจะเกิด กระตุ้นการแสดงความคิดเห็นผ่านมุมมองการทำธุรกิจ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง และตั้งคำถามกับตัวเองในการเป็นผู้ประกอบการ หรือนักธุรกิจ มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาที่มันซับซ้อน ก่อให้เกิดทักษะพัฒนาที่ถูกต่อยอดไปเป็นทักษะการคิดนอกกรอบและการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่ต่างไปจากเดิม รวมถึงพัฒนาทักษะความเอาใจใส่ ความสามารถในการรักษาความสัมพันธ์หรือการสนับสนุนผู้อื่น เป็นทักษะที่มีค่าของประกอบการให้ความสำคัญของการเอาใจใส่และการรักษามิตรภาพเป็นอย่างดีระหว่างผู้ประกอบการและลูกค้า ในการรับฟังและเคารพการตัดสินใจหรือการแสดงออกความคิดเห็นของผู้รับบริการ เพื่อเรียนรู้การรับฟังผู้อื่นในความคิดเห็นที่แตกต่างได้ เกิดทักษะมองบวก ให้ผู้ประกอบการเป็นตัวแบบของคนที่มีความคิดด้านบวก มองเห็นว่า สิ่งที่กำลังจะทำนั้น สามารถเป็นจริงด้วยมือของเราได้ นอกจากเรื่องธุรกิจแล้ว ทักษะมองบวกยังส่งผลดีต่อสังคมคนรอบข้างและสุขภาพตนเอง เพราะสามารถรับมือกับความกดดันความตึงเครียดได้และเล็งเห็นความสำคัญของการตอบแทนสังคม การทำให้สังคมน่าอยู่ มีความเอื้ออาทรต่อกัน และมีความสุข เป็นการสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น ดังนั้น จากประสบการณ์ที่นักศึกษาจะได้รับในโครงการนี้จะเป็นการปูพื้นฐานเพื่อเตรียมความพร้อมรอบด้านให้กับนักศึกษาเกิดการสร้างแรงบันดาลใจให้ ได้ค้นหาและพัฒนาตนเอง กล้าคิดกล้าแสดงออก และลงมือทำในสิ่งสอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง เพื่อผลักดันให้เติบโตเป็นผู้ประกอบการด้านสินค้า ปศุสัตว์รุ่นใหม่ก้าวสู่ความสำเร็จในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างนักศึกษาที่มีความรอบรู้ในด้านการประกอบธุรกิจเบื้องต้น
เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทำธุรกิจเพื่อเป็นแนวทางในการทำธุรกิจในอนาคต
นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากการปฏิบัติจริง โดยเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่ประสบความสำเร็จในด้านธุรกิจ
เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ ทำให้เกิดการทำงานร่วมกัน และเกิดเครือข่ายทางธุรกิจในอนาคต
สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ค้นหาและพัฒนาตนเอง กล้าคิดกล้าแสดงออกและลงมือทำในสิ่งที่สอดคล้องกับศักยภาพของตน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักธุรกิจรุ่นเยาว์
KPI 1 : นักศึกษาที่เข้าร่วมมีทักษะการดำเนินธุรกิจเพิ่มมากยิ่งขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 2 : โครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ระดับความสำเร็จในการใช้จ่ายงบประมาณเปรียบเทียบกับผลผลิตที่ได้รับ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ระดับ 4
KPI 4 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักธุรกิจรุ่นเยาว์
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนานักธุรกิจรุ่นเยาว์ อมรมเรื่อง "เส้นทางสู่การเป็นผู้ประกอบการ "

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2562 - 28/06/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา  ชูเกียรติศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฬากร  ปานะถึก (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท) เป็นเงิน 1,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,250.00 บาท 1,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (3 ชั่วโมง ๆ ละ 500 บาท) เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2750.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2562 - 28/06/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา  ชูเกียรติศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อานนท์  ปะเสระกัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2 ครั้ง ๆ ละ 25 คน ๆ ละ 25 บาท) เป็นเงิน 1,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,250.00 บาท 1,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (6 ชั่วโมง ๆ ละ 500 บาท) เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ เป็นเงิน 10,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,500.00 บาท 10,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14750.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดการและบริหารร้านค้า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา  ชูเกียรติศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฬากร  ปานะถึก (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 24,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
วันจัดกิจกรรมมีความกระชั้นชิดเกินไปทำให้แจ้งวันเวลาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความล่าช้า
การประชาสัมพันธ์ของกิจกรรมไม่ทั่วถึง
วันที่จัดกิจกรรมตรงกับวันหยุดของนักศึกษาจึงทำให้ไม่ค่อยได้รับความสนใจเท่าที่ควร
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ควรมีการจัดสรรเวลาในการจัดกิจกรรมให้ดีกว่านี้ เพื่อป้องการความผิดพลาดในการทำกิจกรรม
เพิ่มการประชาสัมพันธ์ของกิจกรรมให้มากยิ่งขึ้น เช่น ติดบอร์ดของทางคณะฯ , แจ้งข่าวสารทางสื่อออนไลน์ (เฟสบุ๊ค,ไลน์)
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล