14234 : โครงการขับเคลื่อนผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ (ศูนย์ความเป็นเลิศรับใช้สังคม)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/6/2562 10:47:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการขับเคลื่อนตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏับัติราชการ(incentive)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
04/06/2562  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา และเกษตรกรที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จำนวน 25,532 บาท 2562 25,532.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักดิ์  เม่งอำพัน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. จงกล  พรมยะ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 3 การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมโดยใช้เกษตรเป็นรากฐาน เพื่อมุ่งสู่การยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 3.1 ผลงานวิจัยมุ่งเน้นภาคการเกษตรเพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
ตัวชี้วัด 61MJU3.1.7 จำนวนหน่วยวิจัย/ศูนย์ความเป็นเลิศ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ทีมีศักยภาพส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม โดยเน้นด้านเกษตรและอาหาร
กลยุทธ์ 61-64MJU 3.1.14 ผลักดันองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับของมหาวิทยาลัยสู่หน่วยงาน และศูนย์ความเป็นเลิศ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT.62-4.การบูรณาการองค์ความรู้ที่เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชนและสนองงานโครงการในพระราชดำริ
เป้าประสงค์ FT.62-4.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด FT.62-4-3 จำนวนองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยและ/หรือ การบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT.62-4.1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการแก่สังคมทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากกระแสที่ผู้บริโภคหันมาสนใจสุขภาพและมีแนวโน้มความต้องการอาหารและของใช้ต่างๆ ที่ปลอดภัยหรือที่ผลิตด้วยระบบอินทรีย์ โดยเฉพาะอาหารสุขภาพมีความต้องการมากขึ้นตามลำดับ จากปลาหนังน้ำจืดยังมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค ดังนั้น ระบบการบริการชุมชนของการผลิตที่ได้มาตรฐานทั้งระบบที่มีคุณค่าปลาหนังลูกผสมบึกสยามจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างมาก ประกอบกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาประเทศให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อสร้างรายได้ระดับสูง โดยใช้องค์ความรู้จากการวิจัย สู่การต่อยอดขยายผลในเชิงการบริการวิชาการ และนวัตกรรมมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยไปสู่ Thailand 4.0 เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนในการสร้างและพัฒนาบุคลากรทางด้านการวิจัยและปัจจัยพื้นฐานทางการวิจัยที่มีคุณภาพ นำสู่การสร้างนวัตกรรมที่สามารถตอบสนองตามความต้องการของทุกภาคส่วนตั้งแต่เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการขนาดกลางขนาดย่อม และอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก และเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานได้รับการยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติทางด้านเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นการสร้างโอกาส อาชีพ รายได้อย่างยั่งยืนให้กับเกษตรกร และการสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนได้อีกด้วย ประกอบกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านเกษตรและประมงมาอย่างช้านาน อีกทั้งยังมีนโยบายในการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็น Organic, Green and Eco University อีกด้วย ในการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านบริการรับใช้สังคมปลาบึกและปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้ นี้จะเป็นการเริ่มต้นในการให้ความรู้ตั้งแต่การผลิต มาตรฐานการเลี้ยง การทำอาหารปลา การแปรูปผลิตภัณฑ์จากปลาหนังน้ำจืด ตลอดจนถึงการส่งเสริมทางการตลาดและการติดตามสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชน และชุมชน ซึ่งเป็นการให้ความรู้แบบครบวงจรที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนอย่างมาก

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคมด้านต้นแบบสัตว์น้ำอินทรีย์ที่มีความเป็นเลิศด้านปลาบึกและปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้ให้แก่ชุมชน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ในด้านบริการวิชาการให้ชุมชนที่มีศักยภาพเลี้ยงตัวเองได้ในอนาคต
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : มีศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม
KPI 1 : ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคมตามเกณฑ์ที่กำหนด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คะแนน 35
KPI 2 : ร้อยละของโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 3 : จำนวนศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 หน่วย 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : มีศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์ความเลิศด้านรับใช้สังคม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/06/2562 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์  เม่งอำพัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร จำนวน 15,532 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,532.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง จำนวน 10,000บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25532.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล