14030 : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการทำนุบำรุงงานพุทธศิลป์ล้านนาตามหลักวิชาการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐาปกรณ์ เครือระยา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/2/2562 13:46:44
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
26/05/2562  ถึง  31/05/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน กิจกรรมหลักส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
แผนงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
งบอุดหนุน (โครงการภารกิจยุทธศาสตร์ ม.ที่5)
2562 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐาปกรณ์  เครือระยา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชยุตภัฎ  คำมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 5 การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 61-64MJU 5.1 การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 61MJU5.1.1 ระดับความสำเร็จของแผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.2 ส่งเสริมให้นักศึกษาและบุคลากร ได้สืบสานประเพณีวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA62-5การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น และหรือสิ่งแวดล้อมโดยมุ่งเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืนและสังคมอุดมปัญญา
เป้าประสงค์ LA62-5.2 มีกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และหรือสิ่งแวดล้อมโดยเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด LA62-5.1 จำนวนกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมโดยเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลยุทธ์ LA62-5.1ส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมโดยเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืน (ปรับ)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมล้านนา คณะศิลปศาสตร์ที่ผ่านมา ทำให้เกิดเป็นศูนย์การเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาอย่างกว่างขวาง ทั้ง นิทรรศการเครื่องเขิน นิทรรศการงานพุทธศิลป์ และนิทรรศการดอกเอื้องในพิธีกรรมตามที่ได้มีการดำเนินการมาแล้วตลอดปี 2560-2561 ดังนั้นเพื่อการธำรงและรักษา ตลอดจนการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมล้านนา รวมถึงการเป็นแหล่งอนุรักษ์และเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมล้านนา เป็นแหล่งบริการวิชาการศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรม ตลอดจนเป็นการประชาสัมพันธ์คณะศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้เป็นที่รู้จัก จึงมีการโครงการอนุรักษ์และบำรุงรักษางานพุทธศิลป์และหัตถศิลป์ล้านนา ในปี 2562 ถือเป็นอีกก้าวสำคัญของการดรงอยู่ของศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมล้านนา คณะศิลปศาสตร์ ปัจจุบันมีหน่วยงานหลายภาคส่วน ได้เห็นความสำคัญของกิจกรรมด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมล้านนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการซ่อมแซมงานพุทธศิลป์ ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธรูป เครื่องสักการะ รวมทั้งศิลปวัตถุแขนงอื่นๆ ซึ่งมีหลายหน่วยงานที่ยังไม่มีองค์ความรู้ที่เพียงพอและถูกต้อง ได้เนินการซ่อมแซม แล้วก่อให้เกิดความเสียหายในเชิงคุณค่าทางวัฒนธรรม คณะศิลปะศาสตร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งที่ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมมาอย่างต่อเนื่อง และยังมีศูนย์ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมล้านนาที่ทำหน้าที่ดูแลรับผิดชอบงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมมาอย่างต่อเนื่อง จึงมีแนวคิดที่จะจัดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการทำนุบำรุงงานพุทธศิลป์ล้านนาตามหลักวิชาการ เพื่อให้ความรู้ทางวิชาการที่ถูกต้อง เรื่องการซ่อมแซมงานพุทธศิลป์ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยมุ่งหวังในนักวิชาการในมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นผู้ที่จะมีบทบาทในการขับเคลื่อนงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อันเป็นภารกิจสำคัญประการหนึ่ง ตลอดจนนักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป ได้มีโอกาสรับการถ่ายทอดความรู้จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนได้มีการลงมือทดลองเชิงปฏิบัติการ ในการซ่อมแซมทำนุบำรุงรักษาโบราณศิลปวัตถุเบื้องต้น โดยมีวิทยากรให้ข้อเสนอแนะอย่างใกล้ชิด ซึ่งจะส่งผลให้การซ่อมแซมรักษางานพุทธศิลป์ในล้านนา เป็นไปด้วยความงดงามในเชิงวัฒนธรรมและถูกต้องในเชิงวิชาการ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องแนวทางการทำนุบำรุงงานพุทธศิลป์ล้านนาตามหลักวิชาการที่ถูกต้อง แก่คณาจารย์ นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการทำนุบำรุงงานพุทธศิลป์ล้านนาตามหลักวิชาการ
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจแนวทางการทำนุบำรุงงานพุทธศิลป์ล้านนา ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการทำนุบำรุงงานพุทธศิลป์ล้านนาตามหลักวิชาการ
ชื่อกิจกรรม :
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการทำนุบำรุงงานพุทธศิลป์ล้านนาตามหลักวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/05/2562 - 15/05/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐาปกรณ์  เครือระยา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าดอกไม้ตกแต่งสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 300.00 บาท 300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 25 คน x 50 บาท x 1 มื้อ)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 25 คน x 25 บาท x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (1200 บาท x 1 คน x 6 ชั่วโมง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากโครงการจัดในช่วงการปิดเทอม จึงทำให้การประชาสัมพันธ์โครงการให้เข้าถึงผู้ที่สนใจ โดยเฉพาะนักศึกษาได้น้อยลง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
กิจกรรมดังกล่าว อาจจะต้องจัดขึ้นในระหว่างภาคการศึกษา เพื่อให้ได้รับความสนใจจากนักศึกษามากขึ้น
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล