13779 : โครงการการประยุกต์ใช้แนวคิดภูมิสังคม สำหรับการเรียนการสอนวิชาออกแบบสถาปัตยกรรมแบบการพัฒนาเชิงพื้นที่ (62-3.2.10)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/12/2561 15:20:32
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/12/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  อาจารย์ นักศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเขตภาคเหนือตอนบน ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานพื้นฐาน
แผนงานรอง แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชกาาร
กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์
แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม
งานบริการวิชาการแก่ชุมชน
กองทุนบริการวิชาการ
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ
2562 143,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภูวเดช  วงศ์โสม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3(62-64)-FAED มุ่งเน้นผลงานการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1(62-64)-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3FAED62-1 จำนวนโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED62-2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED62-3 ร้อยละของผลงานบริการวิชาการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเรียนการสอนด้านสถาปัตยกรรมของสถาบันการศึกษาในประเทศไทย มีความมุ่งหวังให้บัณฑิตที่จบการศึกษาไป มีความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพที่ได้มาตรฐาน สถาบันการศึกษาในแต่ละแห่ง จึงให้ความสำคัญกับกระบวนการสร้างองค์ความรู้ให้เกิดกับนักศึกษา ซึ่งมีความแตกต่างกันตามแต่วัตถุประสงค์และการออกแบบบัณฑิตที่พึงประสงค์ของแต่ละสถานบันการศึกษา เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมไปประยุกต์ใช้สำหรับการประกอบวิชาชีสถาปัตยกรรม ในขั้นตอนการสร้างองค์ความรู้นั้น สถาบันการศึกษาจะต้องมีการสร้างกระบวนการที่สามารถกำหนดจุดมุ่งหมายให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ในการหาข้อมูลหรือทฤษฎีต่างๆ มาเป็นข้ออ้างอิง จนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้ใน 2 ด้านได้แก่ (วิมลสิทธิ์ หรยางกูลและคณะ, 2554) 1. การเรียนรู้ที่เกิดจากกระบวนการสัมพันธ์ (Associative Process) 2. การเรียนรู้ที่เกิดจากกระบวนการทางปัญญา (Cognitive Process) เพื่อให้นักศึกษานำผลที่ได้จากการเรียนรู้ทั้ง 2 ด้าน ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมและการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมในอนาคต ดังนั้น กระบวนการการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ นอกจากจะต้องสอดคล้องกับผลที่จะได้รับจากกระบวนการแล้ว ยังต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายของแต่ละสถาบันการศึกษา ที่จะสามารถสร้างบัณฑิตทางด้านสถาปัตยกรรมที่มีอัตลักษณ์เฉพาะตัว ที่สอดคล้องกับบริบทและแนวนโยบายของแต่ละมหาวิทยาลัย บนมาตรฐานของวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นด้านการเกษตร ที่กำหนดเป้าหมายหลักของการพัฒนา โดยให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ที่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลกความเป็นจริง จึงได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต” โดยกำหนดแนวทางการพัฒนาออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1. มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ 2555 – 2559 ที่มุ่งเน้นด้านการเกษตรที่กลับคืนสู่วิถีธรรมชาติ 2. มหาวิทยาลัยสีเขียว 2560 – 2564 ที่มุ่งเน้นด้านการสร้างสมดุลกับธรรมชาติ 3. มหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ 2565 – 2569 ที่มุ่งเน้นด้านการสร้างสมดุลในการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติอย่างยั่งยืน การกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาดังกล่าว นอกจากเป็นสิ่งที่กำหนดทิศทางในการพัฒนาด้านการบริหารมหาวิทยาลัยแล้ว ยังหมายรวมถึงการกำหนดทิศทางการพัฒนาองค์ความรู้ให้กับนักศึกษา โดยการสอดแทรกแนวความคิดเชิงนิเวศในการเรียนการสอน โดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีอัตลักษณ์อันโดดเด่นด้านการผลิตบัณฑิตที่คุณภาพด้านการเกษตร ที่มีความพยายามน้อมนำเอาแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชการที่ 9 มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อสอดแทรกแนวคิดความพอเพียงให้เป็นอัตลักษณ์และลักษณะเฉพาะตัวของบัณฑิตของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงเป็นที่มาของการเรียนการสอนด้านภูมิสังคม ในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มุ่งหวังให้บัณฑิตที่จบการศึกษาไป นำเอาแนวความคิดดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในส่วนงานของตนเองในการพัฒนาเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืน ที่มีความสอดคล้องกับปัญหาและบริบทของแต่ละพื้นที่ ซึ่งถือว่า เป็นหลักสูตรต้นแบบที่ได้น้อมนำเอาพระราชปรัชญาของพระองค์ท่านมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา ทั้งยังเป็นแนวทางที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จากแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนที่เป็นอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หลักสูตรสถาปัตยกรรม ที่มีการเรียนการสอนสถาปัตยกรรมให้กับนักศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 เป็นต้นมา ได้เล็งเห็นถึงคุณค่าและความสำคัญขององค์ความรู้ด้านภูมิสังคม ประกอบกับมีความต้องการที่จะสร้างอัตลักษณ์ด้านการเรียนการสอน ที่น้อมนำแนวคิดภูมิสังคมมาปรับใช้และประยุกต์เข้ากับการเรียนกาสอนสถาปัตยกรรม เพื่อสอดแทรกแนวความคิดภูมิสังคมให้กับบัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ด้านความคิดที่มีความเฉพาะตัว ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย ดังนั้น หากสามารถประยุกต์แนวความคิดภูมิสังคมสำหรับการเรียนการสอนสถาปัตยกรรมได้ นอกจากจะทำให้บัณฑิตที่จบจากการศึกษาไปจากหลักสูตรสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีความรู้ความสามารถในด้านการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมแล้ว บัณฑิตน่าจะมีแนวความคิดด้านภูมิสังคมที่เพียงพอสำหรับการเริ่มต้นในการกลับไปมองถิ่นที่เกิดของตนเอง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมและแนวความคิดภูมิสังคมมนการพัฒนาถิ่นที่เกิดละชุมชนของตนเอง อีกทั้งยังเป็นแรงขับเคลื่อนในระดับชุมชนที่สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสนองเจตนารมณ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อศึกษาแนวความคิดการพัฒนาพื้นที่แบบภูมิสังคมและนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสถาปัตยกรรม
เพื่อสร้างแนวทางการเรียนการสอนสถาปัตยกรรมที่เป็นอัตลักษณ์ของหลักสูตรสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการประยุกต์ใช้แนวคิดภูมิสังคม สำหรับการเรียนการสอนวิชาออกแบบสถาปัตยกรรมแบบการพัฒนาเชิงพื้นที่
KPI 1 : จำนวนหลักสูตรที่มีแนวทางการสอนในการประยุกต์ใช้แนวคิดภูมิสังคมเพื่อสร้างบัณฑิตที่พึงประสงค์ ที่มีอัตลักษณ์เฉพาะของหลักสูตร สังกัดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 หลักสูตร 1
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาที่ได้รับแนวความคิดในการน้อมนำและประยุกต์ใช้แนวความคิดภูมิสังคม ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในการเรียนการสอนสถาปัตยกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 60
KPI 3 : ร้อยละการนำแนวความคิดการพัฒนาพื้นที่แบบภูมิสังคมมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนด้านสถาปัตยกรรม (หมวดรายวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม และหมวดรายวิชาพื้นฐาน) ของหลักสูตรสถาปัตยกรรมของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 50
KPI 4 : จำนวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร TCI กลุ่ม 1 ภายในประเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บทความ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการประยุกต์ใช้แนวคิดภูมิสังคม สำหรับการเรียนการสอนวิชาออกแบบสถาปัตยกรรมแบบการพัฒนาเชิงพื้นที่
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการประยุกต์ใช้แนวคิดภูมิสังคม สำหรับการเรียนการสอนวิชาออกแบบสถาปัตยกรรมแบบการพัฒนาเชิงพื้นที่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/12/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภูวเดช  วงศ์โสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนสถาปัตยกรรมภายในภาคเหนือตอนบน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการกำหนดลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามแนวทางของ AUN-QA
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการประยุกต์แนวความคิดภูมิสังคมสู่การเรียนการสอนและงานสถาปัตยกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจ เก็บข้อมูลด้านกายภาพพื้นที่ย่านวัดเกตุ อ.เมืองจังหวัดเชียงใหม่ (Internal Factor)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจ เก็บข้อมูลด้านผละกระทบจากภายนอกและปัญหาด้านต่างๆภายในพื้นที่ย่านวัดเกตุ อ.เมืองจังหวัดเชียงใหม่ (External Factor) และทำการวิเคราะห์หากิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสร้างภาพจำลอง 2D (Auto CAD)/3D (Sketch UP/Illustrator/Animation) เพื่อแสดงผลของงานออกแบบสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับกิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหาในพื้นที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน (ฉบับรายงานความก้าวหน้า และฉบับสมบูรณ์)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าบริหารโครงการ 10%
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 143000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล