13692 : โครงการ "การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เพื่อยกระดับและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนให้แก่ผู้ประกอบการจังหวัดแพร่"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/12/2561 9:58:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/01/2562  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  70  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการผลิตอาหารและเครื่องดื่มในเขตจังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2562 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.2 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมเครือข่ายเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตร
เป้าประสงค์ มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ (Organic Green Eco Education Hub)
ตัวชี้วัด 3.2.1-61 ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ 15 ปี (Go-Eco-U)
กลยุทธ์ พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางการให้บริการตาม Roadmap โดยการบูรณาการตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่คนทุกระดับ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันกระแสของการบริโภคสินค้าเกษตรและสินค้าแปรรูปที่ปลอดภัยจากสารพิษมีเพิ่มมากขึ้น โดยมีสินค้าที่บ่งบอกถึงการผลิตอย่างปลอดภัยจากสารพิษในท้องตลาด เป็นทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคหลายชนิด ผู้บริโภคจึงมักพบสินค้าเกษตรที่ระบุว่า เกษตรอินทรีย์ ผักไร้สารพิษ ผักปลอดภัยจากสารพิษ ผักอนามัย ซึ่งคำจำกัดความ มีขั้นตอนการผลิตแตกต่างกันคือ เกษตรอินทรีย์เป็นเกษตรที่สร้างสรรค์ให้ระบบนิเวศน์การเกษตรได้ก่อให้เกิดการผลิตที่ยั่งยืน ปลอดภัยต่อผู้บริโภค อนุรักษ์และปรับปรุงสภาพแวดล้อมโดยโดยใช้หลักการสร้างความหลากหลายทางชีวภาพ และทำให้เกิดการผสมผสานเกื้อกูลซึ่งกันและกัน หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ เช่น ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ยาป้องกันกำจัดศัตรูพืชและฮอร์โมน เน้นการหมุนเวียนใช้ทรัพยากรในไร่นาให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผลผลิตที่ได้เป็น Organic food ทำให้สินค้าเกษตรที่ผลิตจากเกษตรอินทรีย์เป็นที่ต้องการของตลาดโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากนำอาหารอินทรีย์ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ก็จะแนวทางในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอาหารอินทรีย์อีกทางหนึ่งด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีความพร้อมและมีศักยภาพที่จะดำเนินการด้านเกษตรอินทรีย์ เป็นที่ปรึกษาด้านการแปรรูปประเภทอาหารและเครื่องดื่ม เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ดังนั้นถ้าหากมีการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยตัวผู้ผลิตผสมผสานกับนักวิชาการ ร่วมกับผู้ที่ต้องการผลิตภัณฑ์อินทรีย์ ก็จะเป็นการทำให้เกิดการพัฒนาระบบที่ดีและเป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิต ผู้บริโภค โดยมีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นผู้ส่วนร่วมประสานให้เกิดกิจกรรม ดังนั้น จึงขออนุมัติการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เพื่อยกระดับและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนให้แก่ผู้ประกอบการจังหวัดแพร่

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เพื่อยกระดับและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนให้แก่ผู้ประกอบการจังหวัดแพร่ โดยการมีส่วนร่วมในการถ่ายเทคโนโลยีการผลิตเชิงอินทรีย์อย่างยั่งยืนจากคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ประสบความสำเร็จในการดำเนินกิจการ ตลอดจนบุคลากรภาครัฐที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดย่อม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เพื่อยกระดับและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนให้แก่ผู้ประกอบการจังหวัดแพร่ (การเสวนาและฝึกอบรม)
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 70
KPI 3 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บาท 50000
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 70
KPI 7 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เพื่อยกระดับและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนให้แก่ผู้ประกอบการจังหวัดแพร่ (การเสวนาและฝึกอบรม)
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เพื่อยกระดับและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนให้แก่ผู้ประกอบการจังหวัดแพร่ (การเสวนาและฝึกอบรม)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2562 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 35 คน ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 21,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 คน ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 9,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยายที่เป็นบุคลากรภาครัฐ จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 8 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 19,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล