13677 : โครงการนวัตกรรมการเลี้ยงปลาสลิดระบบ biofloc บูรณาการกับการปลูกผักเชิงพาณิชย์เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/12/2561 15:05:54
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/12/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  เกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่ ผู้สนใจเรื่องผลิตปลาสลิดอินทรีย์จากฟาร์มที่ได้ยื่นรับรองคุณภาพมาตรฐานอินทรีย์
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2562 จำนวน 1,000,000 บาท 2562 1,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. จงกล  พรมยะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT.62-4.การบูรณาการองค์ความรู้ที่เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชนและสนองงานโครงการในพระราชดำริ
เป้าประสงค์ FT.62-4.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด FT.62-4-1 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่นๆ ของคณะ
กลยุทธ์ FT.62-4.1.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
ตัวชี้วัด FT.62-4-2 ระดับความสำเร็จของการบริการทางวิชาการแก่สังคม
กลยุทธ์ FT.62-4.1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการแก่สังคมทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

แผนพัฒนาประเทศปี พ.ศ.2560-2564 รัฐได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการเกษตรสู่ความเป็นเลิศด้านอาหาร ที่ครอบคลุมประเด็นปริมาณการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารเพียงพอและความหลากหลายต่อความต้องการในการบริโภค มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าระดับสากลและมีความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง พื้นที่เกษตรอินทรีย์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้นเป็น 500,000 ไร่ในปี 2564 โดยการเร่งพัฒนาและขับเคลื่อนการผลิตเกษตรอินทรีย์อย่างจริงจัง เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านอาหาร มีหลักประกันมั่นคงด้านอาชีพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งเกษตรกรรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคเกษตรอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนฐานการผลิตการเกษตรที่เข็มแข็งและยั่งยืน เพื่อสร้างวิสาหกิจชุมชน ซึ่งจังหวัดเชียงใหม่ และประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวและเป็นประเทศที่สามารถผลิตอาหารเป็นครัวของโลกได้ มีผู้ต้องการบริโภคสัตว์น้ำจากการเพาะเลี้ยงเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก เนื่องจากเป็นอาหารสุขภาพตลอดจนสัตว์น้ำจากธรรมชาติลดลง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอาชีพนับวันมีความสำคัญมากขึ้น ปัจจุบันผู้บริโภคหันมาสนใจอาหารสัตว์น้ำที่ปลอดภัยและสัตว์น้ำอินทรีย์มากขึ้น หลักการใช้วัตถุดิบสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ คือ ต้องมีองค์ประกอบที่เป็นวัตถุดิบธรรมชาติหรือเกษตรอินทรีย์ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 60 รวมทั้งต้องเป็นวัตถุดิบที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ เป็นกระบวนการผลิตสัตว์น้ำเพื่อให้ได้ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ ตามหลักการ และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มาตรฐาน มกท, 2555 (IFOAM); มาตรฐาน กรมประมง, 2550) มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีนโยบายในพันธะกิจที่มุ่งเน้นทางด้านการเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหารโดยเฉพาะอาหารอินทรีย์ (Organic Food) ดังนั้นเพื่อตอบสนองนโยบายที่เพิ่มความมั่นคงด้านอาหาร คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ ได้มีการเรียนการสอนแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ดังนั้น การนำนักศึกษาเข้าสู่การเรียนรู้ในชุมชนนั้นจะเป็นประโยชน์ในการเรียนการสอนของนักศึกษา และประชาชนทั่วไปในอนาคต ซึ่งงานวิจัยนี้เป็นการเปิดโอกาสการเรียนรู้ด้านการผลิตสัตว์น้ำเชิงอินทรีย์ไปพร้อมกัน ชุมชนได้รับองค์ความรู้มีความพร้อมในการรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึงสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน จากการทำงานร่วมกับชุมชนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้พื้นที่นำร่อง ดำเนินการร่วมกับ ชุมชนเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ ในการใช้ประโยชน์องค์ความรู้จากงานวิจัยด้านการประมง ของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาชุมชน ตำบลหนองหาร ตำบลป่าไผ่ ตำบลหนองจ๊อม ตำบลสันทรายหลวง อำเภอสันทราย และตำบลชมพู อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ในปีงบ ประมาณ 2558 และปีงบประมาณ 2560 ได้มีการดำเนินการในฐานเรียนรู้ผลิตลูกปลาสลิดและการเลี้ยงปลาสลิดในระบบ biofloc ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการประมงที่เกษตรกรต้องการดังนี้ 1. มีการเลี้ยงปลาสลิดระบบ biofloc 2. นำองค์ความรู้ส่งเสริมกระบวนการเพาะเลี้ยงปลาสลิดในระบบ biofloc 3. ให้มีความร่วมมือดำเนินการกับกรมประมง เทศบาลในพื้นที่ 4. สร้างนักศึกษาเพื่อเป็นวิทยากรและเกษตรกรรุ่นใหม่ในการติดตามการเพาะเลี้ยงของเกษตรกร 5. ได้ผลิตภัณฑ์ เช่น ปลานิลแดดเดียว 8 กิโลกรัม/สัปดาห์ จากการดำเนินงานในพื้นที่ ตำบลหนองจ๊อม และตำบลสันทรายหลวง อำเภอสันทราย และตำบลชมพู อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ในปีงบ ประมาณ 2558 และปีงบประมาณ 2560 ได้นำองค์ความรู้ด้านการประมงและส่งเสริมเกษตรกรที่ผ่านมา ได้รับทราบข้อมูลของชุมชน สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน ต้องการลดพื้นที่การเพาะเลี้ยงปลานิลลง แต่ต้องการขยายพื้นที่การเพาะเลี้ยงปลาสลิด เพิ่มในตำบลหนองจ๊อม และตำบลสันทรายหลวง อำเภอสันทราย และตำบลชมพู อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ และพัฒนาสัตว์น้ำที่มีในพื้นที่อยู่แล้ว เพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป ดังนี้ 1. ให้มีฐานเรียนรู้ด้านการประมงเพื่อผลิตสัตว์น้ำ 2. นำองค์ความรู้ส่งเสริมกระบวนการเพาะเลี้ยงปลาสลิดอินทร์ระบบ biofloc สู่เกษตรกร 3. ให้มีความร่วมมือดำเนินการกับกรมประมง เทศบาลในพื้นที่ เพิ่มขึ้น 4. สร้างนักศึกษาเพื่อเป็นวิทยากรและเกษตรกรรุ่นใหม่ในการติดตามการเพาะเลี้ยงของเกษตรกรเพิ่มมากขึ้น 5. แปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแดดเดียวจำหน่ายในชุมชน และกาดแม่โจ้ 2477 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ 6. การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นการดำเนินการเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน หากมีการดำเนินงานแบบองค์รวมที่มีส่วนประกอบของการสนับสนุนจากภาครัฐ การใช้ฐานความรู้ ฐานคุณธรรม จิตสานึกแห่งความดี การพึ่งพาตนเอง โดยใช้การพัฒนาอาชีพของเกษตรกรเป็นประเด็นสำคัญในการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาจะสามารถสร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนของกลุ่มและกิจกรรมต่าง ๆ ได้ ปัจจัยการผลิตสัตว์น้ำที่สำคัญคือ พื้นที่การเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีโอกาสขยายตัวเพื่อรองรับในอนาคต ก่อนหน้านี้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ส่งเสริมให้เกษตรกรทำการเกษตรเชิงอินทรีย์ (Organic Agriculture) ในพื้นที่อำเภอสันทราย และอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยข้อได้เปรียบของพื้นที่ดังกล่าวนั้นคือการมีระบบชลประทานที่พร้อมและมีความรู้พื้นฐานด้านการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเชิงอินทรีย์ งานวิจัยที่ผ่านมานั้นมุ่งเน้นการผลิตอาหารสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ การเพาะเลี้ยงปลาสลิดในระบบ biofloc ร่วมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจระบบอควาโปนิกส์ (Aquaponics) เป็นนวัตกรรมระบบการเลี้ยงปลาสลิดบูรณาการร่วมกับการปลูกพืชผัก ที่ใช้ต้นทุนทรัพยากรน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบบำบัดครบวงจรโดยไม่ต้องเปลี่ยนถ่ายน้ำ มีระบบเติมอากาศที่มีการควบคุมปริมาณออกซิเจน ระบบการให้อาหารที่มีการคำนวณน้ำหนักปลาเพื่อให้อาหารได้เหมาะสมและพอดี เพิ่มอัตราการรอดของปลาจากระบบเลี้ยงทั่วไปเป็น 2 เท่า ใช้พื้นที่ในการเพาะเลี้ยงน้อย มีผลผลิตทั้งปลาและพืชผัก ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับโครงการ Northern Food Valley ของจังหวัดเชียงใหม่ งานวิจัยและพัฒนาครั้งนี้จะสร้างความต่อเนื่อง เพื่อสร้าง Chiangmai Organic Fish Valley โดยมีวัตถุประสงค์มีกิจกรรมหลัก 4 ประการคือ 1) การสร้างระบบการผลิตสัตว์น้ำอินทรีย์ (ปลาสลิด) ในวิสาหกิจชุมชน ใน 2 อำเภอ คือ อำเภอสันทราย และอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยเทคนิคการเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่ที่จำกัด (Land-Base Aquaculture) ร่วมกับการควบคุมคุณภาพน้ำด้วยระบบหมุนเวียน (Recirculation Aquaculture System) ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ลดการใช้น้ำในการผลิต (Smart aquaculture) 2) การสร้างจุดเรียนรู้และสาธิตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ 3 จุด คือ จุดสาธิตการเพาะเลี้ยงปลาสลิด 2 จุด และจุดสาธิตการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ปลาสลิด 1 จุด 3) การฝึกอบรมเกษตรกร จำนวนอย่างน้อย 40 คน และฟาร์มขอขึ้นทะเบียนผู้ผลิตสัตว์น้ำ 2 ราย และ 4) แปรรูปและสร้างผลิตภัณฑ์ปลาสลิด 1 ผลิตภัณฑ์ โครงการนี้จะมีผลกระทบในทางที่เป็นประโยชน์ เช่น การสร้างอาชีพและการจ้างงานในชุมชน ชุมชนและผู้บริโภคมีอาหารปลอดภัยที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ มีการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างคุ้มค่า มีศูนย์การเรียนรู้เพื่อรับข่าวสาร และชุมชนมีความเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัย กรมประมง และอุตสาหกรรมอาหารโครงการยุทธศาสตร์ Chiangmai Fish Valley ขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรมอาหารเชียงใหม่สู่ตลาดโลก การประเมินพื้นที่นำร่องเพื่อดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ Chiangmai Fish Valley

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อผลิตปลาสลิดอินทรีย์ จำนวน 350 กิโลกรัม โดยชุมชนใน อำเภอสันทราย และอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยเทคนิคการเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่ที่จำกัด (Land-Base Aquaculture) ร่วมกับระบบ biofloc
เพื่อสร้างจุดสาธิตการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ 3 จุด คือ จุดสาธิตการเลี้ยงปลาสลิด 2 จุด จุดสาธิตการแปรรูปปลาสลิด 1 จุด
จัดการฝึกอบรมเกษตรกรการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบอินทรีย์จำนวน 40 คน และขอขึ้นทะเบียนผู้ผลิตสัตว์น้ำ 2 ราย
เพื่อแปรรูปและสร้างผลิตภัณฑ์ปลาสลิด 1 ผลิตภัณฑ์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรมีความสามารถในการผลิตลูกปลาสลิด ไปจนถึงการแปรรูปปลาสลิด : กิจกรรมนวัตกรรมการเลี้ยงปลาสลิดระบบ biofloc บูรณาการกับการปลูกผักเชิงพาณิชย์เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ
KPI 1 : สร้างผลิตภัณฑ์อินทรีย์จากปลาสลิด โดยเทคนิคการเลี้ยงสัตว์น้ำระบบ biofloc ในพื้นที่จำกัด (Land-Base Aquaculture) ร่วมกับการควบคุมคุณภาพน้ำด้วยระบบหมุนเวียน (Recirculation Aquaculture System) และร่วมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจระบบอควาโปนิกส์ (Aquaponics)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 350
KPI 2 : ระยะสำเร็จของโครงการ
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ปี 1
ผลผลิต : เกษตรกรมีความสามารถในการผลิตลูกปลาสลิด ไปจนถึงการแปรรูปปลาสลิด : กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปลาสลิดและศูนย์เรียนรู้ฯ
KPI 1 : ชุมชน อำเภอสันทราย และอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่มีความรู้เพิ่มขึ้นในกิจกรรมและต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่า และมีอาหารที่ปลอดภัยบริโภค
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : มีจุดสาธิตให้ความรู้เรื่องการเพาะเลี้ยงปลาสลิด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 จุด 2
KPI 3 : มีจุดสาธิตการแปรรูปปลาสลิด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 จุด 1
KPI 4 : ระยะสำเร็จของโครงการ
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ปี 1
KPI 5 : ผลิตภัณฑ์ปลาสลิดอินทรีย์แดดเดียว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ผลิตภัณฑ์ 1
ผลผลิต : เกษตรกรมีความสามารถในการผลิตลูกปลาสลิด ไปจนถึงการแปรรูปปลาสลิด :กิจกรรมจัดฝึกอบรม เรื่องนวัตกรรมการเลี้ยงปลาสลิดระบบ biofloc บูรณาการกับการปลูกผักเชิงพาณิชย์เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ
KPI 1 : ผู้เข้าอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังเข้าอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ระยะสำเร็จของโครงการ
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ปี 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 40
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรมีความสามารถในการผลิตลูกปลาสลิด ไปจนถึงการแปรรูปปลาสลิด : กิจกรรมนวัตกรรมการเลี้ยงปลาสลิดระบบ biofloc บูรณาการกับการปลูกผักเชิงพาณิชย์เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมนวัตกรรมการเลี้ยงปลาสลิดระบบ biofloc บูรณาการกับการปลูกผักเชิงพาณิชย์เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/12/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล  พรมยะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผู้ช่วยปฏิบัติงานโครงการ (ระดับปริญญาตรี) จำนวน 2 คน ๆ ละ 9 เดือนๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 270,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 270,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดทำแผ่นพับ/ป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร จำนวน 148,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 148,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ จำนวน 80,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว จำนวน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ จำนวน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ จำนวน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง จำนวน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 618800.00
ผลผลิต : เกษตรกรมีความสามารถในการผลิตลูกปลาสลิด ไปจนถึงการแปรรูปปลาสลิด : กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปลาสลิดและศูนย์เรียนรู้ฯ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปลาสลิดและศูนย์เรียนรู้ฯ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/12/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล  พรมยะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดทำแผ่นพับ/ป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ส่วนตัวสำหรับเดินทางไปดำเนินโครงการในเขตพื้นที่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ จำนวน 20 ครั้ง ๆ ละ 30 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท และเขตพื้นที่ อ.สารภี จ.เชียงใหม่ จำนวน 20 ครั้ง ๆ ละ 80 กิโลเมตรเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 6,400 บาท รวมเป็นเงิน 8,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 48,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 48,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 187200.00
ผลผลิต : เกษตรกรมีความสามารถในการผลิตลูกปลาสลิด ไปจนถึงการแปรรูปปลาสลิด :กิจกรรมจัดฝึกอบรม เรื่องนวัตกรรมการเลี้ยงปลาสลิดระบบ biofloc บูรณาการกับการปลูกผักเชิงพาณิชย์เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมจัดฝึกอบรม เรื่องนวัตกรรมการเลี้ยงปลาสลิดระบบ biofloc บูรณาการกับการปลูกผักเชิงพาณิชย์เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/12/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล  พรมยะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดทำคู่มืออบรม จำนวน 50 เล่มๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากร เจ้าหน้าที่ และผู้เข้าอบรม จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภาครัฐฝึกอบรมภาคบรรยาย จำนวน 1 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรฝึกอบรมภาคปฏิบัติ จำนวน 4 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนศึกษาช่วยงาน จำนวน 2 คน ๆ ละ 20 วัน ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานครัว เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 33,900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 33,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 194000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล