13640 : โครงการการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตรโดยไส้เดือนดินเขตอำเภอพะโต๊ะและอำเภอทุ่งตะโกในจังหวัดชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.ตรีชฎา สุวรรณโน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/12/2561 15:00:50
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  70  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 70 คน ประกอบด้วย 11.1 เกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตพืชเศรษฐกิจ จำนวน 60 คน 11.2 เกษตรกรทั่วไป 10 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ 2562 80,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.การบริการวิชาการด้านการเกษตรสุขภาวะเพื่อสังคมชุมชน
เป้าประสงค์ 3.1 เป็นโครงการบริการวิชาการที่ยกระดับความเข้มแข็งให้กับชุมชน
ตัวชี้วัด 3.1.1 ร้อยละงบประมาณบริการวิชาการ ที่ได้รับการสนับสนุนที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 1. กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ภาคใต้เป็นพื้นที่ที่มีพื้นฐานเศรษฐกิจที่ดีของประเทศอีกภาคหนึ่งของประเทศไทยที่มีทั้งการทำประมงทางทะเล และการผลิตพืชที่หลากหลาย เช่น การปลูกยางพารา การปลูกปาล์มน้ำมัน การปลูกกาแฟ ส้ม ทุเรียน มังคุด มะพร้าว และไม้ผลชนิดอื่น ๆ ซึ่งพืชเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถสร้างรายให้กับเกษตรกรทางภาคใต้และประเทศกว่าปีละแสนล้านบาท และการผลิตพืชชนิดต่าง ๆ ในภาคใต้ส่วนใหญ่จะเน้นการผลิตพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมีเป็นส่วนมากและส่วนน้อยที่เกษตรกรมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการผลิตพืชเนื่องจากเกษตรกรคุ้นเคยกับการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี ซึ่งในระยะยาวสารเคมี ปุ๋ยเคมีมีผลต่อโครงสร้างของดิน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมีผลตกค้างของสารเคมีในผลผลิตทางการเกษตร เมื่อบริโภคเข้าไปอาจก่อให้เกิดโรคต่อมนุษย์ได้ ดังนั้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มองถึงความสำคัญอย่างสูงในการผลิตพืชให้มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจจึงเสนอโครงการที่มีความต้องการของชุมชน เกษตรกรผู้ผลิตพืชในเขตอำเภอพะโต๊ะ และอำเภอทุ่งตะโกในโครงการ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตรโดยไส้เดือนดินเขตอำเภอพะโต๊ะและอำเภอทุ่งตะโกในจังหวัดชุมพร เนื่องจากทางภาคใต้มีวัสดุทางการเกษตรที่เลือใช้เป็นจำนวนมาก เช่น ขุยมะพร้าว ทะลายปาล์มน้ำมัน ใยปาล์มน้ำมัน ทางปาล์มน้ำมันที่ตัดทิ้งกว่า 1.6 ตันต่อไร่ต่อปี เปลือกผลไม้อื่น ๆ และวัสดุทางการเกษตรเหล่านี้เราสามารถนำมาผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงได้โดยใช้ไส้เดือนดินในการย่อยสลายวัสดุทางการเกษตรให้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่สามารถนำไปใช้ในการผลิตพืชได้ และช่วยปรับโครงสร้างดินให้ดีขึ้น เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การผลิตพืชผัก ผลไม้ ที่ปลอดภัยขึ้น และในระยะยาวสามารถลดต้นทุนการผลิตได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการผลิตปุ๋ยอิทรีย์คุณภาพจากวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตรโดยใช้ไส้เดือนดิน
2.เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ให้มากขึ้นในการผลิตพืชเศรษฐกิจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตรโดยไส้เดือนดินเขตอำเภอพะโต๊ะและอำเภอทุ่งตะโกในจังหวัดชุมพร
KPI 1 : -ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.08
KPI 2 : -ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : -เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ให้มากขึ้นในการผลิตพืชเศรษฐกิจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 15
KPI 4 : -ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 5 : -จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 70
KPI 6 : -ร้อยละความสำเร็จของโครงการและเกษตรกรสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 70
KPI 7 : -ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 8 : -ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตรโดยไส้เดือนดินเขตอำเภอพะโต๊ะและอำเภอทุ่งตะโกในจังหวัดชุมพร
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คน 1 มื้อๆ ละ 100 บาท 2 ครั้ง เป็นเงิน 8,000 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คน ๆละ 2 มื้อ ๆละ 35 บาท 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคคลของรัฐ) จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 ครั้ง เป็นเงิน 4,800 บาท
-ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคคลของรัฐ) จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุเกษตร เช่น ทะลายปาล์มน้ำมันเปล่า ขุยมะพร้าว มูลวัว รำหยาบ น้ำหมักฉี่ไส้เดือน พันธุ์ไส้เดือนดิน (พันธุ์ AF) ฯลฯ เป็นเงิน 57,000 บาท
-ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 58,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล