13607 : โครงการฟาร์มต้นแบบสวนลำไยอินทรีย์อัจฉริยะและการจัดการฟาร์มอย่างปราดเปรื่อง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/1/2562 16:25:41
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  0  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2562 2,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์  กาญจนประโชติ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61MJU1.5.1 ร้อยละของโครงการพัฒนานักศึกษาที่ใช้เพื่อพัฒนาทักษะของนักศึกษา เช่น ภาษาอังกฤษ IT/ ทักษะวิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะด้านภาษา IT และทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด EN62-4.2.1 จำนวนโครงการ/แหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์หรือเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของคณะฯ
กลยุทธ์ พัฒนาโครงการ/แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์การแปรรูปอาหารอินทรีย์ ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ระบบการเพาะปลูกลำไยที่มุ่งเน้นผลิตลำไยที่มีความปลอดภัยกับผู้บริโภคด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการบริหารจัดการฟาร์มอย่างปราดเปรื่อง (Smart farming) เป็นแนวทางในการยกระดับกระบวนการเพาะปลูกลำไยในภาคเหนือ ซึ่งมีพื้นที่เพาะปลูกมากว่า แปดแสนไร่ (ศูนย์ข้อมูลผลไม้, 2559) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิต สามารถเพิ่มมูลค่าราคาผลผลิต ตลอดจนการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรด้านปัจจัยการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เป็นความจำเป็นเรื่องด่วนเพื่อช่วยแก้ปัญหาให้เกษตรกรสวนลำไยให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและมีความมั่นคงยั่งยืนในอาชีพ การทำระบบเกษตรแบบแม่นยำ (Precision Agriculture) ด้วยระบบการเก็บข้อมูลปัจจัยสภาพแวดล้อมในฟาร์มเพาะปลูกลำไยด้วยอุปกรณ์ตรวจวัดอิเลกทรอนิกส์ทางการเกษตรราคาถูก ซึ่งทีมวิจัย Smart Farm & Agricultural Solutions ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ได้พัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบ Smart Farming ขนาดเล็กอย่างต่อเนื่อง โดยได้พัฒนาอุปกรณ์และระบบต่างๆ ที่ได้จากงานวิจัยพัฒนาถูกนำไปใช้งานจริงในแปลงการเพาะปลูกของเกษตรกรมาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 4 ปี และสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอุปกรณ์และระบบต่างๆดังกล่าวที่ถูกพัฒนาขึ้น อาทิเช่น อุปกรณ์ตรวจวัดค่าปริมาณความชื้นในดิน อุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศ อุปกรณ์ตรวจวัดแมลงศัตรูพืช ระบบวิเคราะห์ภาพถ่ายเพื่อตรวจสอบสุขภาพพืช (NDVI) ระบบอุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการคำนวณค่าดัชนีแรงดึงน้ำในอากาศ (VPD) เพื่อะบุการเปิดปากใบพืช และระบบบันทึกข้อมูลการเพาะปลูกรายต้นด้วยเทคโนโลยี RFID เทคโนโลยี (GAP online) เป็นต้น ดังนั้นสภาพปัจจัยการเพาะปลูกต่างๆในฟาร์มปลูกลำไยจะถูกตรวจวัดและส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมายังศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อการประมวลผลข้อมูล และทำการบริหารจัดการฟาร์มได้อย่างอัตโนมัติหรือทำการแจ้งเตือนเกษตรกรผ่านแอปพลิเคชั่นเพื่อให้เกษตรกรปฏิบัติงานในฟาร์มได้อย่างถูกต้องแม่นยำและใช้ปัจจัยการผลิตที่น้อยที่สุด ส่งผลให้การใช้ปัจจัยในการผลิตลดลงแต่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ประหยัดระยะเวลาและแรงงานในฟาร์ม มีข้อมูลที่แน่นอนและเชื่อถือได้ในการตัดสินใจการทำฟาร์ม ตลอดจนสามารถทำนายผลผลิตล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำ เพื่อการกำหนดราคาขายล่วงหน้าบนตลาดออนไลน์ โดยสามารถเพิ่มคุณค่าและราคาผลผลิตได้จากข้อมูลสินค้าจากระบบตรวจสอบย้อนกลับทางการเกษตร (Agricultural Product Traceability system) เป็นต้น โครงการนี้มุ่งเน้นการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีตลอดจนองค์ความรู้ด้านกระบวนการเพาะปลูกลำไยจากผู้เชี่ยวชาญในมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเกษตรกรในเครือข่าย เพื่อสร้างต้นแบบสวนลำไยอินทรีย์อัจฉริยะและการจัดการฟาร์มอย่างปราดเปรื่อง สำหรับเป็นศูนย์เรียนรู้ ถ่ายทอดเทคโนโยลีให้กับเกษตรกรสวนลำไยในประเทศ ตลอดจนเป็นศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบ smart farm สวนลำไยเพื่อยกระดับระบบการเพาะปลูกลำไยให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาต้นแบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะที่สามารถบริหารจัดการปัจจัยการผลิตได้อย่างแม่นยำ
เพื่อสร้างระบบฐานข้อมูลปัจจัยการเพาะปลูกลำไยที่แม่นยำและเชื่อถือได้
เพื่อเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ต้นทุน ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจากระบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะต้นแบบ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ได้ต้นแบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะที่สามารถบริหารจัดการปัจจัยการผลิตได้อย่างแม่นยำ
KPI 1 : ต้นแบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะที่สามารถบริหารจัดการปัจจัยการผลิตได้อย่างแม่นยำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฟาร์ม 1
ผลผลิต : ได้ฐานข้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการ ประมวลผล วิเคราะห์ผลปัจจัยในฟาร์มลำไย ตลอดจนแอปพลิเคชั่นเกษตรกรสวนลำไย
KPI 1 : โปรแกรมคอมพิวเตอร์/แอปพลิเคชั่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 โปรแกรมคอมพิวเตอร์/แอปพลิเคชั่น 5
ผลผลิต : ได้ข้อมูลผลดำเนินการ ด้านต้นทุน ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจากระบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะต้นแบบ
KPI 1 : คุณภาพของผลผลิตลำไยที่เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละปริมาณผลผลิตลำไยที่เพิ่มขึ้น 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ได้ต้นแบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะที่สามารถบริหารจัดการปัจจัยการผลิตได้อย่างแม่นยำ
ชื่อกิจกรรม :
การบริหารงานส่วนกลาง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์  กาญจนประโชติ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่บริหารงานโครงการ จำนวน 1 คน จำนวน 9 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำวิดีทัศน์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท 70,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 55,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 55,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 415000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 1
สำรวจและติดตั้งระบบอุปกรณ์ตรวจวัดต่างๆและระบบการให้น้ำแบบแม่นยำอัตโนมัติในพื้นที่ฟาร์มเพาะปลูกลำไยอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์  กาญจนประโชติ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
อุปกรณ์ระบบการให้น้ำแม่นยำอัตโนมัติ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 75,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 75,000.00 บาท
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
สถานีตรวจวัดสภาพอากาศ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 135,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
อุปกรณ์รับส่งสัญญาณวิทยุระยะไกล
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 85,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 85,000.00 บาท
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
ปั๊มน้ำพลังงานแสงอาทิตย์และระบบท่อส่งน้ำพร้อมอุปกรณ์สำรองน้ำ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 300,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 300,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจพื้นที่ฟาร์มเพาะปลูกลำไยอินทรีย์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 35,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาติดตั้งอุปกรณ์ระบบการให้น้ำแม่นยำ
อัตโนมัติ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 100,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาติดตั้งอุปกรณ์สถานีตรวจวัดสภาพอากาศ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 120,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 120,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาติดตั้งอุปกรณ์รับส่งสัญญาณวิทยุระยะไกล
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 100,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาติดตั้งระบบปั๊มน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ และระบบท่อส่งน้ำพร้อมอุปกรณ์สำรองน้ำ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 125,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 125,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตรวจสอบระบบและควบคุมต้นแบบ
สวนลำไยอินทรีย์อัจฉริยะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาดูแล server สวนลำไยอินทรีย์อัจฉริยะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1275000.00
ผลผลิต : ได้ฐานข้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการ ประมวลผล วิเคราะห์ผลปัจจัยในฟาร์มลำไย ตลอดจนแอปพลิเคชั่นเกษตรกรสวนลำไย
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 2 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลปัจจัยการเพาะปลูกลำไยคอมพิวเตอร์
เพื่อการวิเคราะห์ผลข้อมูลและแอปพลิเคชั่นสนับสนุนเกษตรกรสวนลำไย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์  กาญจนประโชติ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
แอปพลิเคชั่นการตัดสินใจการให้น้ำ แอปพลิเคชั่นการแจ้งเตือนการฉีดพ่นชีวภัณฑ์
เพื่ออารักษ์ขาพืชเทคโนโลยี UAV แอปพลิเคชั่นการวิเคราะห์ภาพถ่ายเพื่อการแจ้งเตือนและทำนายผลผลผลิตล่วงหน้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
ค่าจ้างเหมาการดำเนินงานเกี่ยวกับระบบการบันทึกข้อมูลการเพาะปลูกลำไยอินทรีย์ GAP online
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 80,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80,000.00 บาท
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
ค่าจ้างเหมาการดำเนินงานเกี่ยวกับข้อมูลของ
ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Tracibility) ผลผลิตทาการเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 90,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 90,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 230000.00
ผลผลิต : ได้ข้อมูลผลดำเนินการ ด้านต้นทุน ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจากระบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะต้นแบบ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 3 เก็บข้อมูลและสรุปข้อมูลต้นแบบระบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์  กาญจนประโชติ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลปัจจัยการเพาะปลูกและผลผลิตลำไยอินทรีย์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานสรุปและวิเคราะห์ข้อมูล ต้นทุน ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจากระบบฟาร์มลำไยอัจฉริยะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล