13436 : โครงการผลิตกระเจี๊ยบแดงในระบบเกษตรอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/11/2561 13:46:44
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  - เกษตรกรบริเวณรอบพื้นที่โครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ต.ป่าไผ่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ ตลอดจนนักเรียน นักศึกษา และเกษตรกรผู้สนใจปลูกเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงในระบบเกษตรอินทรีย์
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2562 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
นาง วิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์
นาง ณฤทัย  จินวงค์
นาง รัตนา  ศรีวิชัย
นาย ธนวัฒน์  รอดขาว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส62-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส62-2.5 เป็นแหล่งพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์
ตัวชี้วัด วส62-12. จำนวนพันธุ์พืชหรือสัตว์ที่ได้รับการพัฒนาพันธุ์
กลยุทธ์ วส62-2.5.1 พัฒนาสำนักวิจัยให้เป็นแหล่งพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa L.) เป็นพืชสมุนไพรที่ได้รับความนิยมใช้เป็นเครื่องดื่ม ด้วยสรรพคุณที่ว่า มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ ขับนิ่วในไต ป้องกันโลหิตจาง โดยเฉพาะสารแอนโทรไซยานินที่มีปริมาณมาก ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ช่วยสร้างความแข็งแรงแก่หลอดเลือด ลดความดันโลหิต ป้องกันโรคมะเร็ง และช่วยชะลอความแก่ ลดไขมันในเส้นเลือด ทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงเป็นโรคสมองเสื่อม ในปัจจุบันนี้ผู้บริโภคเริ่มมีการหันมาสนใจในพืชกลุ่มสมุนไพรกันอย่างแพร่หลาย จึงทำให้พืชสมุนไพรหลายชนิดรวมถึงกระเจี๊ยบแดง มีความต้องการของตลาดที่เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งในการทำเครื่องดื่มจากกระเจี๊ยบแดงนั้นจะต้องใช้ในส่วนของกลีบดอกมาทำการต้ม จะแน่ใจได้อย่างไรว่ากระบวนการผลิตไม่มีการใช้สารเคมี ซึ่งแทนที่จะได้สรรพคุณจากพืชสมุนไพร อาจกลายเป็นส่งผลกระทบหรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคแทนการผลิตกระเจี๊ยบแดงในระบบเกษตรอินทรีย์ จะดำเนินกิจกรรม ณ สำนักฟาร์มมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นบริเวณส่วนของพื้นที่ของโครงการส่งเสริมการปลูกดอกเก๊กฮวยอินทรีย์ ทั้งนี้เนื่องจากบริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่ได้รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ United States Deparment Of Agriculture (USDA) และมาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (EU) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในปัจจุบันมหาวิทยาลัยแม่โจ้ นั้นมีผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์ค่อนข้างหลากหลาย ซึ่งการผลิตกระเจี๊ยบแดงในระบบเกษตรอินทรีย์ก็จะเป็นการเพิ่มจำนวนผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยให้มีจำนวนมากยิ่งขึ้น และเพื่อเป็นต้นแบบการผลิตกระเจี๊ยบแดงอินทรีย์เชิงอุตสาหกรรมแบบครบวงจร อีกทั้งยังสามารถใช้เป็นสถานที่สำหรับบูรณาการด้านการเรียน การสอน การวิจัย และการบริหารจัดการ ของมหาวิทยาลัยอย่างเต็มรูปแบบ รวมถึงผู้บริโภคจะได้รับประทานน้ำสมุนไพรที่มีความปลอดภัยจากสารเคมีอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นการแหล่งเรียนรู้และแนะนำเป็นทางเลือกใหม่ให้เกษตรกรอย่างเป็นรูปธรรม
2. สร้างรูปแบบ (Model) การผลิตกระเจี๊ยบแดงอินทรีย์ ครบวงจร ได้แก่ การปลูก การเก็บเกี่ยว ตลอดจนการอบแห้งดอกกระเจี๊ยบแดง
3. เพื่อเป็นการเสริมสร้างผลิตภัณฑ์จากกระเจี๊ยบแดงอินทรีย์ให้แก่องค์กร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การผลิตกระเจี๊ยบแดงในระบบเกษตรอินทรีย์
KPI 1 : ผู้เข้ารับบริการ(ประชาชน ศึกษาดูงานโครงการฯ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 50
KPI 2 : พื้นที่ผลิตกระเจี๊ยบแดงอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 งาน 1
KPI 3 : ผลผลิตสด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 100
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการบรรลุวัตถุประสงค์
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 85
KPI 6 : ปริมาณผลผลิตแห้งหลังแปรรูป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การผลิตกระเจี๊ยบแดงในระบบเกษตรอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
1. ปลูกกระเจี๊ยบแดง
2. เก็บเกี่ยวผลผลิตสด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายธนวัฒน์  รอดขาว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
3. แปรรูปผลผลิตแห้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2561 - 31/12/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางวิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
4. การประชาสัมพันธ์ การดูแลรักษาผลผลิตอบแห้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางณฤทัย  จินวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางรัตนา  ศรีวิชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. โรค และแมลง ที่เข้าทำลายต้นกระเจี๊ยบแดง
2. สภาพอากาศที่มีความแปรปรวน เช่น ร้อนมากกว่าปกติ ฝนตกช้ากว่าฤดูกาล ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปลูกกระเจี๊ยบแดง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. หมั่นตรวจสอบ โรคและแมลง รวมทั้งดูแลรักษาความสะอาดภายในแปลงอยู่เสมอ
2. แผนการทำงานที่มีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนแผน ให้เกิดความเหมาะสมต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล