13431 : โครงการส่งเสริมการปลูกดอกเบญจมาศเพื่อการค้า
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 15/11/2561 9:23:54
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร บุคคลที่สนใจทั่วไป นักเรียน นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2562 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ธนวัฒน์  รอดขาว
นาย นิตย์  มงคลสวัสดิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส62-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส62-2.2 เป็นที่พึ่งของประชุาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน
ตัวชี้วัด วส62-9. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ วส62-2.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตดอกเบญจมาศเพื่อการค้า เป็นโครงการที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจาก การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มี พระราชกระแสรับสั่งให้ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ให้ช่วยเหลือส่งเสริมพร้อมทั้งพัฒนาอาชีพให้แก่ราษฎรบ้านโปง เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินมายังพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยแม่โจ้ เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธุ์ ๒๕๓๐ เพื่อให้ราษฎรมีอาชีพ มีรายได้ และมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ไม่ไปตัดไม้ทำลายป่าที่เป็นแหล่งต้นน้ำของห้วยแม่โจ้ เพื่อเป็นแหล่งอุปโภค บริโภค และทำการเกษตรของราษฎร ตลอดจนเป็นลำน้ำหนึ่งที่ไหลลงสู่แม่น้ำปิง จากพระราชกระแสรับสั่ง ดังกล่าว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยฝ่ายพัฒนาเกษตรที่สูง สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร ในสมัยนั้น จึงได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรบ้านโปง ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ปลูกดอกเบญจมาศเพื่อการค้า ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ๑๐ ครอบครัว โดยรวมกลุ่มกันปลูกในพื้นที่ 30 ไร่ มีนักวิชาการให้คำแนะนำวิธีการปลูกเลี้ยง ดูแลรักษา ตลอดจนการตลาด ได้ผลตอบแทนเป็นที่น่าพอใจ เพราะดอกเบญจมาศเป็นไม้ตัดดอกที่มีความหลากหลาย ในเรื่องของสีและรูปทรง จึงทำให้เป็นที่ต้องการของตลาดสูง ด้วยเหตุนี้ทำให้เกษตรกรเข้าร่วมโครงการปลูกดอกเบญจมาศในพื้นที่ 30 ไร่ มากขึ้นทุกปี และมีเกษตรกรรายใหม่ๆ เข้าร่วมโครงการอยู่เสมอ ซึ่งเกษตรกรเหล่านี้ยังขาดทักษะและประสบการณ์ในการผลิต ทำให้ผลผลิตไม่มีคุณภาพ ขายไม่ได้ราคา ดังนั้น หากมีการจัดโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตดอกเบญจมาศที่ถูกวิธี ในทางทฤษฎีและปฏิบัติ ให้แก่ เกษตรกรก็จะทำให้ดอกเบญจมาศมีคุณภาพมีมูลค่ามากขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
๑. เพื่อเป็นแหล่งถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตดอกเบญจมาศแก่เกษตรกร ให้มีความรู้ความชำนาญ
๒. เพื่อเป็นการแนะนำ และส่งเสริมอาชีพที่เป็นทางเลือกใหม่ของเกษตรกร
๓. เพื่อเป็นสถานที่ได้ฝึกงาน ในทางทฤษฎี และปฏิบัติของเกษตรกรและนักศึกษา ประชาชนทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ๑. จัดทำแปลงสาธิตการปลูกต้นแม่พันธุ์และการปักชำยอดอ่อน ๒. จัดทำแปลงสาธิตการปลูกเบญจมาศกระถางและเบญจมาศตัดดอก ๓. วางแผนการผลิตให้แก่เกษตรกร ๔. ให้คำแนะนำในการผลิต การคัด บรรจุหีบห่อ และการตลาด ๕. การรวบรวมพันธุ์เบญจมาศตัดดอกและเบญจมาศกระถางในห้องปฏิบัติการ
KPI 1 : 2. จำนวนแหล่งเรียนรู้การผลิตดอกเบญจมาศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 แหล่ง 1
KPI 2 : ๑. ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ๑.ร้อยละของโครงการบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 4 : ๑. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : ๑. จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 50
KPI 6 : ๑. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ / หน่วยงาน / องค์กรที่รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 7 : ๒. ร้อยละของโครงการที่บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ๑. จัดทำแปลงสาธิตการปลูกต้นแม่พันธุ์และการปักชำยอดอ่อน ๒. จัดทำแปลงสาธิตการปลูกเบญจมาศกระถางและเบญจมาศตัดดอก ๓. วางแผนการผลิตให้แก่เกษตรกร ๔. ให้คำแนะนำในการผลิต การคัด บรรจุหีบห่อ และการตลาด ๕. การรวบรวมพันธุ์เบญจมาศตัดดอกและเบญจมาศกระถางในห้องปฏิบัติการ
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล