13397 : โครงการฝึกอบรม Landscape gardening แก่บุคลากร ราชอาณาจักรภูฏาน ตามโครงการความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับกระทรวงเกษตรและป่าไม้ ราชอาณาจักรภูฏาน (62-3.2.4)-ภูฏาน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/11/2561 20:20:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
31/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  2  คน
รายละเอียด  เจ้าหน้าที่จากราชอาณาจักรภูฏาน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรับฝากโครงการฝึกอบรมให้กับบุคลากร กระทรวงเกษตร และป่าไม้ ราชอาณาจักรภูฏาน เดือน พฤศจกิายน พ.ศ. 2561 2562 134,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ สุระพงษ์  เตชะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3(62-64)-FAED มุ่งเน้นผลงานการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1(62-64)-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3FAED62-1 จำนวนโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED62-2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED62-3 ร้อยละของผลงานบริการวิชาการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้กำหนดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย (Roadmap) ระยะ 15 ปี (พ.ศ.2555-2569) ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย Roadmap MJU 2026 มุ่งสู่การเป็น Organic University, Green University,Eco University ซึ่งเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์การพัฒนาแม่ โจ้ในการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต ทั้งนี้เพื่อให้คณะ สำนัก และหน่วยงานภายใน สามารถใช้เป็นกรอบทิศทางในการกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์และกิจกรรมโครงการ ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยโดยมีแผนยุทธศาสตร์เชิงรุก เพื่อมุ่งสู่มุ่งสู่ Green Knowledge Park" โดยการดำเนินงานจัดฝึกอบรมให้กับบุคลากร ราชอาณาจักรภูฏาน ตามโครงการความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับกระทรวงเกษตรและป่าไม้ ราชอาณาจักรภูฏาน ซึ่งได้รับ งบประมาณสนับสนุนจาก สหภาพยุโรป (European Union) ตามสัญญาเลขที่ ACA/2017/387-940 นั้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อฝึกอบรม Sustainable Forest and Watershed Management แก่บุคลากร ราชอาณาจักรภูฏาน ตามโครงการความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับกระทรวงเกษตรและป่าไม้ ราชอาณาจักรภูฏาน
เพื่อส่งเสริมคณาจารย์ได้เข้ามีส่วนร่วมการสอนและทำงานกับเครือข่ายวิชาการ โดยการเข้าร่วมกิจกรรม workshop การฝึกภาคสนาม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการฝึกอบรม Landscape gardening แก่บุคลากร ราชอาณาจักรภูฏาน ตามโครงการความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับกระทรวงเกษตรและป่าไม้ ราชอาณาจักรภูฏาน
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนการนำเสนอผลงานของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ผลงาน 2
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการฝึกอบรม Landscape gardening แก่บุคลากร ราชอาณาจักรภูฏาน ตามโครงการความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับกระทรวงเกษตรและป่าไม้ ราชอาณาจักรภูฏาน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการฝึกอบรม Landscape gardening แก่บุคลากร ราชอาณาจักรภูฏาน ตามโครงการความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับกระทรวงเกษตรและป่าไม้ ราชอาณาจักรภูฏาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรัสพิมพ์  บุญญานันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธภูมิ  เผ่าจินดา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์รมย์ชลีรดา  ด่านวันดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุระพงษ์  เตชะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุปิยา  ปัญญาทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พิทักษ์พงศ์  แบ่งทิศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธีรภัทร  จิโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าธรรมเนียมเข้าชมสถานที่ (จำนวน 200 บาท x 4 คน x 2 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่า หรือจ้างเหมารถยนต์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 100 บาท x 4 คน x 20 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 35 บาท x 4 คน x 40 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (จำนวน 850 บาท x 4 คน x 2 คืน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภายใน (จำนวน 600 บาท x 6 ชั่วโมง x 1 คน x18 วัน)= 64,800 บาท+ภายนอก (จำนวน 1,200 บาท x 3 ชั่วโมง x 1 คน x1 วัน) = 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 68,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 134400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล