13305 : โครงการแฮกนาปลูกข้าว และแฮกเกี่ยวข้าวชาวล้านนา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.สุจิรา ทิวจิรกุล (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/11/2561 16:39:19
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  700  คน
รายละเอียด  นักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร และคณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่อยู่ใกล้เคียงมหาวิทยาลัย และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ ประจำปี พ.ศ. 2562 คณะผลิตฯ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิต ผลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมหลัก ส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แผนงาน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กองทุนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป 2562 100,000.00
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปี พ.ศ. 2562 ที่ได้รับโอนจากศูนย์ศิลปวัฒนธรรม แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพฯ ผลผลิตผลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมหลักส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แผนงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานทำนุบำรุงวัฒนธรรม กองทุนทำนุบำรุงวัฒนธรรม งบอุดหนุนหมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุรายการเงินโครงการอุตหนุนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 2562 65,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์
น.ส. กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม
นาย สัมพันธ์  ตาติวงค์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองชัย  จูวัฒนสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 5 การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 61-64MJU 5.1 การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 61MJU5.1.4 จำนวนนักศึกษาต่างชาติและชาวต่างชาติที่ได้รับการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนา หรือวัฒนธรรมการเกษตร
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.6 พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ให้น่าสนใจและทันสมัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 62 ผก. 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 62 ผก. 1.1 นักศึกษามีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 62 ผก. 1.1 ร้อยละของโครงการพัฒนานักศึกษาทีมีการบูรณาการด้านทักษะ ไอที ภาษา วิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 62 ผก. 1.14 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาภาษา ทักษะด้าน IT และทักษะวิชาชีพ
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 62 ผก. 5 การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 62 ผก. 5.1 การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 62 ผก. 5.2 ร้อยละของโครงการหรือกิจกรรมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ 62 ผก. 5.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตรมีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอนและการวิจัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประชาชนชาวไทยมีอาชีพทางเกษตรกรรมมาแต่โบราณกาล อาหารที่สำคัญ คือ ข้าว เป็นทั้งแป้งและน้ำตาลเป็นอาหารหลักที่ขาดไม่ได้ ดังนั้นการผลิตข้าวจีงเป็นงานสำคัญ ในวิธีชีวิตของคนไทยทั้งมวล การแสวงหาเนื้อที่ปลูกข้าวโดยการหาแหล่งน้ำและเนื้อที่ราบเป้นที่ปลูกข้าวเรียกกันว่า"ทุ่งนา" จึงทำมาช้านาน เนื้อที่ส่วนใหญ่ซึ่งเป็นที่ราบของประเทศไว้สำหรับเป็นที่ปลูกข้าวมากมาย ประเพณีทางล้านนาที่ปฏิบัติกันสืบมา เช่น การแฮกนา ของชาวล้านนาไทยกับการแรกนาของภาคกลาง เป็นอันเดียวกันต่างและล้านนาประชาชนออกเสียงเป็นแฮกนา เป็นอย่างเดียวกับจรดพระนังคัล คือการไถนา หรือ พระราชพิธีแรกนาขวัญ คณะผลิตกรรมการเกษตรเป็นคณะที่มีการเรียนการสอนนักศึกษาในด้านการเกษตรมานานกว่า 45 ปี มีความมุ่งมั่นที่จะรักษาไว้ซึ่งความสำคัญของข้าวไม่ว่าจะในฐานะของอาหาร เครื่องมือทางวัฒนธรรม และการสานเชื่อมเครือข่ายทางสังคมให้เข้ามาเห็นและมีส่วนร่วมอย่างแนบแน่น จึงประสงค์จะจัดโครงการนี้เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจ ได้นำเอาความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ สำหรับนักศึกษาเป็นการได้รับความรู้จากนอกห้องเรียนมาบูรณาการด้วยการได้รู้จักการทำนาแบบธรรมชาติ และการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากปราชญ์ชาวบ้านที่มีอาชีพทำนามาตลอดชีวิต รวมไปถึง พิธีแฮกเกี่ยวแบบล้านนา ด้วยกิจกรรมประเพณีลงแขก เกี่ยวข้าวเป็นประเพณีที่แสดงให้เห็นถึงความมีน้ำใจของคนไทยที่มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อีกทั้งยังสร้างความสมัครสมานสามัคคีกันในหมู่คณะ อันเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของผู้ที่ประกอบอาชีพทำนา รวมถึง การนวดข้าว ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำนา หลังจากเก็บกเกี่ยวแล้วก็จะต้องแยกเมล็ดข้าวออกจากรวมข้าวเพื่อให้ได้เฉพาะเมล็ดข้าวเปลือกที่ต้องการ จัดการแข่งขันทำข้าวหลาม และแข่งขันฟาดข้าว ตามวัฒนธรรมการแปรรูปข้าวล้านนา และการประกอบพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการเกษตรกรรม โดยใช้อุบายให้มนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเหมาะสมและสมดูล อันจะส่งผลต่อการรับรุ้ที่ดีต่อการทำนาและอาชีพเกษตรกรของนักศีกษาต่อสังคม ชุมชน และประชาชนชาวบ้าน เพื่อให้เป้็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สู่ Organic University Green และ Eco University ต่อไปในอนาคต ประเทศไทยของเราเป็นประเทศเกษตรกรรมที่เข้มแข็งยั่งยืนมานับตั้งแต่บรรพบุรุษ ดังนั้น การส่งเสริม อนุษรักษ์อาชีพและศิลปวัฒนธรรม ประเพณีเกี่ยวกับการเกษตรจึงมีความสำคัญมากสำหรับ คณะเกษตรกรรมการเกษตรที่มุ่งมั่นจะผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ดี เก่ง และมีความสุข มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้อย่างสม่ำเสมอ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ประเพณีอันดีงาม และมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อพัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตรให้น่าสนใจและทันสมัย
เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจทราบถึงพิธิกรรมในการปลูกข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาพร้อมทั้งร่วมสืบสานเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจได้สัมผัสเรียนรู้และมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าว
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียนการสอน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิต : นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ประเพณีอันดีงามและมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น
KPI 1 : ร้อยละจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 70
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการผลิตข้าว
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 70
ผลผลิต : นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจทั่วไป ได้เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา
KPI 1 : ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 700
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาเกี่ยวกับการปลูกข้าว
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิต : นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ประเพณีอันดีงามและมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเกี่ยวข้าววันพ่อ
พิธีกรรมด้านวัฒนธรรมการเกี่ยวข้าวของไทย สาธิตรถเกี่ยวข้าว คนเกี่ยวข้าว การฟาดข้าว การนวดข้าว การสีข้าว การบรรจุข้าว ฯลฯ (งบประมาณแผ่นดิน ที่ได้รับโอนจากศูนย์ศิลปวัฒนธรรม)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2561 - 30/12/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุภักตร์  ปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุจิรา  ทิวจิรกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสัมพันธ์  ตาติวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศศิประภา  รัตนพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร, อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 400 คน คนละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (แขกผู้มีเกียรติ คณะผู้บริหารและบุคลากร จำนวน 36 คน คนละ 35 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,260.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดตกแต่งสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,040.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร 1 คน 1 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
ผลผลิต : นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจทั่วไป ได้เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการผลิตข้าวแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่่ 2
การปลูกข้าวแบบล้านนา (งบประมาณรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2562 - 30/08/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุภักตร์  ปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอารีรักษ์  วิชัยศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุจิรา  ทิวจิรกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสัมพันธ์  ตาติวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางจิราพร  หลงปันใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม (สำหรับนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ) จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 100 บาทต่อคน จำนวน 700 คน รวมเป็นเงิน 70,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดและตกแต่งสถานที่ในงาน รวมเป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (สำหรับบุคลากรและแขกที่เข้าร่วมโครงการ) จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 100 บาทต่อคน จำนวน 50 คน รวมเป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม (สำหรับบุคลากรและแขกที่เข้าร่วมโครงการ) จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาทต่อคน จำนวน 50 คน รวมเป็นเงิน 1,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ ในการจัดโครงการเป็นเงิน 8,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าเครื่องเสียง สำหรับใช้ในโครงการ จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 6,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 2.1
การเตรียมพื้นที่ เตรียมแปลงหว่านกล้า เตรียมแปลงปลูกข้าว ไถดะ ไถคราด ไถแปร ปั้นคันนา ถอนกล้า เตรียมปักดำ ทำแนวปลูกข้าว (งบประมาณแผ่นดิน ที่ได้รับโอนจากศูนย์ศิลปวัฒนธรรม)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2562 - 30/08/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์สุภักตร์  ปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสัมพันธ์  ตาติวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเตรียมพื้นที่หว่านกล้า เตรียมแปลง หว่านกล้า เตรียมกล้าสำหรับปลูก (พื้นที่ 3 งาน) เตรียมแปลงปลูกข้าว จำนวน 1 แปลง (พื่นที่ 10 ไร่)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
วันที่จัดกิจกรรม ที่เป็นฤดูฝน อาจมีฝนตก สภาพอากาศอาจจะเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินกิจกรรมได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดเตรียมสถานที่ให้พร้อม มีร่มเพียงพอกับผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้สามารถดำเนินกินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล