13169 : โครงการส่งเสริม การผลิตและจัดจำหน่ายข้าวอินทรีย์แก่เกษตรกร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.ภาวิณี ชัยวุฒิ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/10/2561 17:20:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมปลูกข้าวในระบบอินทรีย์
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิทยาศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน งบประมาณเงินแผ่นดิน ประจำปี 2562 2562 4,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์  แสงทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.2 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมเครือข่ายเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.5 สร้างและพัฒนาชุมชนเป้าหมายด้านบริการวิชาการ และแสวงหาเครือข่ายความร่วมมือ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. การถ่ายทอดองค์ความรู้และการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศก่อเกิดการบริการวิชาการเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะ
เป้าประสงค์ 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 22 22. จำนวนองค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (Vision KPl)
กลยุทธ์ 4.1.1 พัฒนาองค์ความรู้ / ฐานเรียนรู้ที่มีศักยภาพของมหาวิทยาลัย และผลักดันสู่การยอมรับ (ดูงาน ฝึกอบรม เชิญเป็นวิทยากร นำไปใช้ประโยชน์ ฯลฯ) ในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรในประเทศไทย อยู่ในขั้นวิกฤต เนื่องจากมีสัดส่วนการนำเข้าสารเคมีที่ใช้นาข้าวเพิ่มขึ้นอย่างมาก ส่งผลกระทบทั้งต่อเกษตรกร สิ่งแวดล้อม และผู้บริโภค โดยจากการตรวจการปนเปื้อนของสารเคมีในเลือดของเกษตรกรพบว่า มีเกษตรกรถึงร้อยละ 32 ที่มีการปนเปื้อนของสารเคมีในเลือดในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ก่อให้เกิดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคต่อมไร้ท่อ ฯ ลฯ ถึงแม้ว่าจะมีการขับเคลื่อนนโยบายเกษตรอินทรีย์ให้เป็นวาระแห่งชาติ แต่ยังมีสัดส่วนพื้นที่การเพาะปลูกเกษตรอินทรีย์มีเพียงร้อยละ 0.1 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ในขณะที่ความต้องการของผู้บริโภคมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการสนับสนุนในภาครัฐ ในการสร้างระบบปลูกข้าวอินทรีย์ต้นแบบยังมีอยู่น้อยมาก เพื่อที่จะตอบสนองต่อความต้องการของผู้ผลิต และบริโภค ข้าวอินทรีย์ในปัจจุบันยังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากจากกระแสรักสุขภาพ ทั้งชาวนาที่เคยทำนาโดยใช้สารเคมี และบุคคลจากอาชีพต่างๆอยากเปลี่ยนมาปลูกข้าวอินทรีย์เพื่อบริโภค และจัดจำหน่าย แต่ขาดความรู้เรื่องการปลูกข้าวอินทรีย์ และนอกจากนี้ปัญหาหลักอีกอย่างหนึ่ง คือ ขาดเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ที่มีคุณภาพดีที่จะใช้ปลูก จากการค้นคว้าจาก website ต่างๆ พบการขายเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์มีน้อยมาก เนื่องราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์มีราคาแพง ดังนั้นเกษตรกรจำเป็นจะต้องเรียนรู้ที่จะเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง เนื่องจากสถานการณ์ตลาดของเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดีมีคุณภาพในประเทศไทยอยู่ในขั้นวิกฤต ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวในประเทศทั้งหมด 69 ล้านไร่ มีอัตราความต้องการของเมล็ดพันธุ์ที่ดีมีคุณภาพต่อปีไม่ต่ำกว่า 1,050 ล้านตัน แต่มีเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดีมีมาตรฐานไม่เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร จึงทำให้เกิดปัญหาขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดีมีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผลผลิตข้าว และคุณภาพข้าวไม่เป็นไปตามความต้องการของตลาด นอกจากนั้นจากอีกหนึ่งปัญหาหลักของประเทศไทย คือ ปัญหาสารเคมีตกค้างเนื่องจากเกษตรกรในประเทศไทยส่วนใหญ่ใช้สารเคมีในการเพาะปลูกข้าวเป็นหลัก ทำให้ส่งผลต่อการส่งข้าวออกสู่ตลาดโลก และทำให้ราคาข้าวของประเทศไทยตกต่ำ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเกษตรกรโดยตรง ดังนั้นคณะผู้วิจัยเล็งเห็นถึงประโยชน์ของเกษตรอินทรีย์อย่างมาก จึงจำเป็นต้องมีแหล่งเรียนรู้เพื่อศึกษาการปลูกข้าวอินทรีย์ที่ผลิตแบบเกษตรอินทรีย์โดยแท้จริง ซึ่งวิธีการผลิตที่จะเน้นในเรื่องการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ เช่น การปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยการเลี้ยงแหนแดง การทำปุ๋ยอินทรีย์ การควบคุมโรคและแมลงโดยวิธีธรรมชาติ เพื่อเป็นต้นแบบให้เกษตรกร และนักศึกษา ที่สนใจการปลูกข้าวอินทรีย์ได้ใช้ประโยชน์ เชิงบูรณาการ เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถดำเนินวิถีชีวิตแบบพอเพียงเป็นอย่างดี

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ชั้นเมล็ดพันธุ์คัด เมล็ดพันธุ์หลัก เมล็ดพันธุ์ขยาย และข้าวเพื่อบริโภคในระบบอินทรีย์
2.เพื่ออบรมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ และการปลูกข้าวในระบบอินทรีย์ให้แก่เกษตรกรที่สนใจ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไว้ใช้เองได้อย่างถูกต้อง และตรงตามพันธุ์
3.หาเครือข่ายเกษตรกรที่สนใจปลูกข้าวในระบบอินทรีย์และส่งเสริมเกษตรกรปลูกข้าวด้วยระบบอินทรีย์
4.เพื่อเตรียมข้อมูลด้านโภชนาการของข้าวพันธุ์ใหม่ที่เตรียมจะส่งเสริมในแปลงเกษตรกรในปีต่อไป
5.เพื่อจัดทำบรรจุภัณฑ์ที่จะใช้บรรจุผลผลิตจากแปลงเกษตรกรที่ไปส่งเสริมปลูกข้าวในระบบอินทรีย์ พร้อมทำผลิตภัณฑ์ตัวอย่างที่ได้จากโครงการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
KPI 1 : จำนวนบรรจุภัณฑ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชิ้น 3000
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมปลูกข้าวในระบบอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กลุ่ม 1
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจต่อผลิภัณฑ์ตัวอย่าง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผลผลิตเมล็ดพันธุ์หลักที่ผลิตได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 400
KPI 6 : จำนวนผลผลิตเมล็ดพันธุ์ขยายที่ผลิตได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 10000
KPI 7 : จำนวนผลิตภัณฑ์ตัวอย่าง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชิ้น 500
KPI 8 : จำนวนผลผลิตรวงพันธุ์คัดที่ผลิตได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 รวง 15000
KPI 9 : จำนวนพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวในระบบอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ไร่ 50
KPI 10 : จำนวนผลผลิตเมล็ดพันธุ์คัดที่ผลิตได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 100
KPI 11 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 12 : จำนวนผลผลิตข้าวเพื่อบริโภคที่ผลิตได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 15000
KPI 13 : ร้อยละความพึงพอใจขอเกษตรกรต่อการปลูกข้าวในระบบอินทรีย์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 14 : จำนวนเกษตรกรที่เข้าอบรมเรื่องการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 100
KPI 15 : ความถูกต้องของข้อมุลโภชนาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 16 : จำนวนข้อมูลโภชนาการที่ได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ตัวอย่าง 10
KPI 17 : จำนวนผลผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ผ่านการตรวจสอบ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
ชื่อกิจกรรม :
โครงการส่งเสริม การผลิตและจัดจำหน่ายข้าวอินทรีย์แก่เกษตรกร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2561 - 30/09/2552
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์  แสงทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 50 คน *100 บาท *2 ครั้ง = 10,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม (จำนวน 50 คน *30 บาท *2 มื้อ *2 ครั้ง = 6,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงหาเครือข่ายเกษตรกร (240 บาท * 8 คน * 60 วัน = 115,200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 115,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะหาเครือข่ายเกษตรกร (2,800 บาท * 1 คัน * 60 วัน = 168,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 168,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเพื่อหาเครือข่ายเกษตรกร (800 บาท * 8 คน * 30 วัน = 192,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 192,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 53,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการ 3 คน 15,000*9 เดือน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 405,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการ (2 คน 18,000*9 เดือน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 324,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-จ้างเหมาช่วยเพาะข้าว ถอนกล้า ดำนา ถอนพันธุ์ปน และหญ้าวัชพืชในแปลง ตัดหญ้า ปลูกพืชบำรุงดิน และให้น้ำ ใส่ปุ๋ย เก็บเกี่ยวผลผลิต นวดข้าว สีข้าว เย็บต่าขาย จำนวน 2 ฤดู *10 ด.*1000 บาท*10 ครั้ง
- จ้างเหมาผลิตสื่อวิดีทัศน์เผยแพร่ความรู้ด้านการปลูกข้าวอินทรีย์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ เพื่อประชาสัมพันธุ์การส่งเสริมการทำนาอินทรีย์ในระบบสารสนเทศ (2 ชื้น*50,000 บาท= 100,000 บาท)
- จ้างบริการตรวจคุณค่าทางโภชนาการของข้าวพันธุ์ใหม่ที่เตรียมจะส่งเสริมในแปลงเกษตรกรในปีต่อไป (จำนวน 10 ตัวอย่าง * 70,000 บาท = 700,000 บาท)
-จ้างเหมาทำบรรจุภัณฑ์ที่จะใช้บรรจุผลผลิตจากแปลงเกษตรกรที่ไปส่งเสริมปลูกข้าวในระบบอินทรีย์ในฤดูถัดไป และผลิตภัณฑ์ตัวอย่างที่ได้จากโครงการ (6 ด.* 50,000) 300,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,300,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร(จำนวน 16 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท = 9,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทน (จำนวน 8 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท = 2,400 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุการเกษตร 1 *2 เดือน *293,170 บาท* 1 ครั้ง 586,340.00
- ค่าวัสดุสำนักงาน 1* 10 เดือน *20,000 บาท* 1 ครั้ง 200,000.00
- ค่าวัสดุก่อสร้าง 1 * 2 เดือน *25,000 บาท *1 ครั้ง 50,000.00
- ค่าวัสดุวัสดุงานบ้านงานครัว1 * 4 เดือน *10,000 บาท* 1 ครั้ง 40,000.00
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ 1 * 10 เดือน *45,000 บาท* 1 ครั้ง 450,000.00
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์1 * 1 เดือน *77,860 บาท *1 ครั้ง 77,860.00
- ค่าวัสดุวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ 1* 1 วัน *5,000 บาท*2 ครั้ง 10,000.00

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,414,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4000000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การระบาดของโรคและแมลง
ปริมาณน้ำจากชลประทาน มาไม่สอดคล้องกับความต้องการน้ำ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
วิธีการแก้ปัญหา คือ ส่งเสริมการทำปุ๋ยและการใช้สารชีวภัณฑ์กำจัดแมลง การพูดคุยกับเกษตรกรด้วยการส่งเสริมเกษตร เพื่อไม่ให้เกิดการใช้สารเคมีในแปลงนา ตลอดจนการอบรมสร้างความเข้าใจให้กับเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์
วิธีการแก้ไขปัญหา คือ วางแผนการผลิตและการเพาะปลูกให้สอดคล้องกับการจัดส่งน้ำของชลประทาน ให้เกษตรกรติดตามข่าวสารจากกรมชลประทานอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล