13064 : โครงการพัฒนาการผลิตลำไยและลิ้นจี่ปลอดภัยในพื้นที่อำเภอไชยปราการและอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.พิมลสิริ แสงสุวรรณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/2/2562 15:33:21
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2562  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่และลำไย
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2562 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ประสิทธิ์  กาบจันทร์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส62-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส62-2.2 เป็นที่พึ่งของประชุาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน
ตัวชี้วัด วส62-9. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ วส62-2.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตำบลหนองบัว อำเภอไชยปราการ และ ตำบลแม่สูน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่ในการประกอบอาชีพทางด้านการปลูกลิ้นจี่และลำไย จากการสำรวจข้อมูลความต้องการในปี 2559 พบว่าปัจจุบันในการปลูกลิ้นจี่และลำไยของเกษตรส่วนมาก นั้นได้ประสบกับปัญหาการเข้าทำลายของแมลงศัตรูพืชและขาดแคลนองค์ความรู้ด้านเกษตรปลอดภัยและองค์ความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงเพราะยังไม่มีหน่วยงานของภาครัฐเข้ามาให้องค์ความรู้พร้อมแนวทางที่ชัดเจน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ในฐานะเป็นมหาวิทยาลัยของชุมชนที่มีความชำนาญวิชาการด้านเกษตรและมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีส่วนร่วมในการผลักดันให้เกษตรกรไทย ได้ผลิตอาหารในกระบวนการเกษตรปลอดภัย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อเกษตรกรและสังคมไทยหรือสังคมโลก จึงได้รวบรวมองค์ความรู้และเทคโนโลยีต่างๆทางด้านการผลิตลิ้นจี่และลำไย เพื่อถ่ายทอดให้กับเกษตรกรในรูปแบบของการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยได้ดำเนินงานแบบบูรณาการตามนโยบายของรัฐบาลและภายใต้พันธสัญญาคลินิกเทคโนโลยีของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามวัตถุประสงค์ ภารกิจดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาระบบการผลิตลิ้นจี่ปลอดภัย เพื่อนำเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อขยายพื้นที่ดำเนินงานโครงการ โดยจะได้ร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายชุมชนดำเนินงานให้สมดังกับคำปณิธานของคลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่กล่าวว่า มุ่งมั่น นำพา ชาวประชาผาสุก

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบการผลิตลำไยและลิ้นจี่ปลอดภัย ให้ชุมชน
ลดต้นทุนการผลิตและพัฒนากลุ่มอาชีพของชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เพิ่มจำนวนผลผลิตให้มีคุณภาพและผลผลิตมากขึ้นจากเดิม 30%
KPI 1 : จำนวนสถานประกอบการที่นำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ราย 10
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดฯ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 85
KPI 3 : ร้อยละผู้รับการถ่ายทอดฯ มีการนำไปใช้ประโยชน์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เพิ่มจำนวนผลผลิตให้มีคุณภาพและผลผลิตมากขึ้นจากเดิม 30%
ชื่อกิจกรรม :
1.การจัดฝึกอบรมอาชีพด้านเกษตร
2.การประสานงานและการดำเนินงานในพื้นที่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2562 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม (50 คน X 130 บาท X 1 มื้อ X 4 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 26,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม (50 คน X 35 บาท X 2 มื้อ X 4 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าที่พัก (1 วัน x 2 คน x 6 ครั้ง x 800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันในการเดินทาง (ครั้งละ 1,000 บาท x 6 ครั้ง )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม (50 ชุด x 4 ครั้ง x 50 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำป้ายประชาสัมพันธ์พร้อมโครงไม้ (4 ป้าย X 500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย (1 คน X 600 บาท X 3 ชั่วโมง X 4 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าตอบแทนวิทยากรปฎิบัติ (1 คน X 300 บาท X 3 ชั่วโมง X 4 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุการเกษตรเพื่อการสาธิตเท่านั้น
หลักสูตรการผลิตปุ๋ยหมักแบบแม่โจ้ 1
-ปุ๋ยคอก(ขี้วัว) จำนวน 300 กระสอบๆละ 30 บาท = 9,000 บาท
-ขี้เถ้าแกลบ จำนวน 150 กระสอบ ๆ ละ 35 บาท = 5,250 บาท
-รำละเอียด จำนวน 50 กระสอบ ๆ ละ 200 บาท = 10,000 บาท
-เศษต้นข้าวโพด จำนวน 400 กิโลกรัมๆ ละ 2 บาท = 800 บาท
-ฟางข้าว จำนวน 355 มัด ๆ ละ 10 บาท = 3,550 บาท
-ก้อนเห็ดบด จำนวน 250 กระสอบ ๆ ละ 30 บาท = 7,500 บาท
-หัวเชื้ออีเอ็ม ขนาด 1 ลิตร จำนวน 50 แกลลอน ๆ ละ 80 บาท = 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุการเกษตรเพื่อการสาธิตเท่านั้น
หลักสูตรการผลิตและการใช้จุลินทรีย์ป้องกันโรคแมลง
-เชื้อจุลินทรีย์ จำนวน 50 ขวดๆละ 120 บาท = 6,000 บาท
-กากน้ำตาล จำนวน 200 กิโลกรัม ๆ ละ 15 บาท = 3,000 บาท
-ถังพลาสติก ขนาด 80 ลิตร จำนวน 50 ใบๆละ 150 บาท = 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุการเกษตรเพื่อการสาธิตเท่านั้น
หลักสูตรการผลิตลิ้นจี่ปลอดภัยและการรับรองพื้นที่ปลูก
-ปุ๋ยหมัก จำนวน 120 กระสอบๆ ละ 250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุการเกษตรเพื่อการสาธิตเท่านั้น
หลักสูตรเทคนิคการตัดแต่งทรงพุ่มและการดูแลรักษา
-ปุ๋ยหมัก จำนวน 70 กระสอบๆ ละ 250 บาท = 17,500 บาท
-ขี้ไก่อัดเม็ด จำนวน 70 กระสอบๆละ 250 บาท = 17,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 200000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล