13000 : พื้นที่อินทรีย์ต้นแบบมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นายรุ่งโรจน์ มณี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/11/2561 21:44:45
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  0  คน
รายละเอียด  1 พื้นที่ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์จำนวน 145.30 ไร่ประกอบด้วย 1. แปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ จำนวน 5 ไร่ 2. แปลงสมุนไพร (907 ไร่) จำนวน 19 ไร่ 3. แปลงผลิตผักสดอินทรีย์ (สาขาพืชผัก) จำนวน 1.5 ไร่ 4. ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา จำนวน 30 ไร่ 5. แปลงยางพารา (ฟาร์มบ้านโปง) จำนวน 37 ไร่ 6. แปลงมะม่วง (ฟาร์มบ้านโปง) จำนวน 23 ไร่ 7. แปลงลำไย (ฟาร์มบ้านโปง) จำนวน 20 ไร่ 8. แปลงผักอินทรีย์ สำนักวิจัย จำนวน 5 ไร่ 9. แปลงผักอินทรีย์ (907 ไร่) จำนวน 2 ไร่ 10. แปลงปรับปรุงพันธุ์ (216 ไร่) จำนวน 2.8 ไร่ 2 พื้นที่ผ่านการรับรองพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่ ประกอบด้วย 1. พื้นที่โรงเรือนสมาร์ทฟาร์ม จำนวน 2 ไร่ 2. แปลงผลิตพืชไร่อินทรีย์ จำนวน 2.25 ไร่ 3. ศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี (907 ไร่) จำนวน 5 ไร่ 4. แปลงสมุนไพร D (เศรษฐศาสตร์) จำนวน 10 ไร่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินประจำปี พ.ศ.2562 งบบริการวิชาการ พื้นที่อินทรีย์ต้นแบบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2562 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย รุ่งโรจน์  มณี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ62 ผก. 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 62 ผก. 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 62 ผก. 4.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62 ผก. 4.4 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธ์ุ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูปตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้กำหนดยุทธศาสตร์ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยขึ้นโดยได้เริ่ม โครงการนำร่องพื้นที่อินทรีย์ต้นแบบของ มหาวิทยาลัยขึ้นตั้งแต่ ปีงบประมาณ2554 และขอการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จากหน่วยงานสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท. IFOAM) ได้รับการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ในปี 2555 คือแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์อินทรีย์และแปลงสมุนไพร ในปีงบประมาณ 2556 ได้รับการรับรองพื้นที่เพิ่มอีกเป็นจำนวน 40 ไร่ ปี 2557 – 2561 มหาวิทยาลัยได้รับงบระมาณโครงการอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์ จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนให้ขอรับรองพื้นที่อินทรีย์เพิ่มเติมทำให้ในปีงบประมาณ 2557 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์เพิ่มอีกเป็นจำนวน 49.5 ไร่ และมีพื้นที่ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยนจำนวน 132 ไร่ ในปีงบประมาณ 2558 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์เพิ่มขึ้นอีกเป็นจำนวน 167.5 ไร่ และได้รับการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยนจำนวน 2.8 ไร่ ในปีงบประมาณ 2559 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์เป็นจำนวน 167.5 ไร่ และได้รับการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยนจำนวน 2.8 ไร่ในปีงบประมาณ 2560 ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์เป็นจำนวน 170.3 ไร่ส่วนในปีงบประมาณ 2561 ได้รับการรับรองพื้นที่ จำนวน 164.55 ไร่ ประกอบด้วยพื้นที่ได้รับการรับรองพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 145.30 ไร่ และได้รับการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยนจำนวน 19.25 ไร่ การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงมีการขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จากหน่วยงานสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท) เข้ามารับรองพื้นที่ทุกปีๆละ 1 ครั้ง (ครบอายุการรับรอง 31 มีนาคม) เพื่อขอต่ออายุการรับรองพื้นที่ที่ผ่านการรับรองอินทรีย์และพื้นที่ที่ผ่านการรับรองในระยะปรับเปลี่ยนสำหรับพื้นที่แหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 5 แห่ง ในการสนับสนุนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ พื้นที่ที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มกท.IFOAM วันที่รับรอง 31 มีนาคม 2561 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2562

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 145.30 ไร่
เพื่อขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เพื่อต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 145.30 ไร่ และเพื่อขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : จำนวนพื้นที่ที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
164.55 ไร่ 164.55
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เพื่อต่ออายุการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่ผ่านการรับรองเป็นพื้นที่อินทรีย์ จำนวน 145.30 ไร่ และเพื่อขอการรับรองพื้นที่ปลูกพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 19.25 ไร่
ชื่อกิจกรรม :
จัดเตรียมเอกสารแต่ละพื้นที่และยื่นขอต่ออายุรับรองพื้นที่อินทรีย์และขอรับรองพื้นที่ระยะปรับเปลี่ยนจำนวน 164.55 ไร่ ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จากหน่วยรับรองเกษตรอินทรีย์สากล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายรุ่งโรจน์  มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมาตรวจแปลงตามโปรแกรม
ACT – IFOAM
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้รับผิดชอบพื้นที่ขาดความเข้าใจในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ขอรับรอง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ให้ความรู้และเน้นการฝึกอบรมโดยวิธีปฏิบัติแก่เจ้าหน้าที่ให้เข้าใจมาตรฐานที่ขอรับรอง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล