12999 : โครงการฐานเรียนรู้การผลิดเห็ดเศรษฐกิจ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.สุภาภรณ์ สิริกรม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/10/2561 14:30:26
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1000  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา กลุ่มเกษตรกร เจ้าหน้าที่่ส่วนราชการ และผู้สนใจด้านการผลิตเห็ด
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดินปี 2562 บริการวิชาการ 2562 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ปรีชา  รัตนัง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.4 พัฒนาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการศาสตร์พระราชา และเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างสังคมเชิงนิเวศต้นแบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ62 ผก. 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 62 ผก. 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 62 ผก. 4.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62 ผก. 4.4 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธ์ุ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูปตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาขาพืชผัก หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนด้านการผลิตพืชผักและการผลิตเห็ดในระดับปริญญาตรี แต่ละปีการศึกษามีนักศึกษาที่จบปริญญาตรีด้านพืชผักประมาณ 60 คน การเรียนการสอนเน้นหนักด้านการปฏิบัติได้จริง โดยมีการเรียนการสอนเรื่องระบบการผลิตพืชผักและการผลิตเห็ดที่ปลอดภัยจากสารพิษ โดยเฉพาะระบบการผลิตเห็ดในถุงทั้งเห็ดเมืองร้อนและเห็ดเมืองหนาว ที่คำนึงถึงระบบการปฏิบัติที่ถูกต้องและเหมาะสมในการผลิต การประยุกต์ใช้วัตถุดิบที่เหลือใช้ทางการเกษตรมาทำการเพาะเห็ดเพื่อเพิ่มมูลค่าและลดมลภาระการเกิดหมอกควันที่เกิดจาการเผา นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยต่าง ๆ อาทิเช่น โครงการวิจัยและพัฒนาเห็ดในโรงเรือน การวิจัยเห็ดสำหรับเมืองร้อนและเมืองหนาว การวิจัยคุณภาพเห็ดพื้นเมือง เป็นต้น ประกอบกับในแต่ละภาคการศึกษา หลักสูตรฯได้เปิดสอนวิชา พส 413 การผลิตเห็ด ให้แก่นักศึกษาที่สนใจลงทะเบียนเรียนเป็นวิชาเลือก ภาคฯเรียนละ 50 คน และเป็นฐานการเรียนรู้ ของวิชา ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวิต ตลอดปีการศึกษา จากกิจกรรมต่างๆ ดังกล่าวนอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและการวิจัยแล้ว ยังเป็นประโยชน์แก่เกษตรกร ประชาชนทั่วไป รวมทั้งนักเรียนและนักศึกษาที่เข้ามาฝึกอบรม ศึกษาและดูงานเป็นประจำ จากข้อมูลผู้เข้าฝึกอบรม ศึกษาและดูงานของสาขาพืชผักในปีการศึกษา 2561 มีจำนวน 4,600 คน การจัดทำโครงการนี้ขึ้นจะทำให้สาขาพืชผักสามารถใช้ศักยภาพที่มีอยู่สนับสนุนวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
สนับสนุนงานด้านการสอนวิชา พส 413 การผลิตเห็ด พส 291 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 1, พส 292 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 2 และ ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวิต ปีการศึกษา 2562
พัฒนาให้สาขาพืชผักเป็นฐานเรียนรู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีและสาธิตด้านการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ ให้แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่สนใจจะนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพทั้งอาชีพหลักและอาชีพเสริม และเป็นฐานเรียนรู้ด้านการผลิตเห็ด ของนักเรียน นักศึกษา รวมทั้งนักวิชาการและเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ตลอดจนชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50000 บาท 50000
KPI 3 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : - จำนวนนักศึกษาที่ใช้บริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 คน 500
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 คน 1000
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
ชื่อกิจกรรม :
- สาธิตการผลิตเห็ดเมืองร้อน เห็ดเมืองหนาว และเห็ดสมุนไพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายปรีชา  รัตนัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา, อุปกรณ์การเพาะเห็ด, ขี้กบทำเชื้อเพลิง น้ำตาลทราย ยางรัด ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณมีจำกัด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
วางแผนดำเนินการตามงบประมาณที่ได้รับ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย 002 ฐานเรียนรู้เห็ดปี 2562
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล