12998 : โครงการฐานเรียนรู้การผลิตผัก
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.สุภาภรณ์ สิริกรม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/11/2561 16:32:33
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
19/11/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1000  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักศึกษา นักเรียน และผู้สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดินปี 2562 บริการวิชาการ 2562 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.4 พัฒนาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการศาสตร์พระราชา และเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างสังคมเชิงนิเวศต้นแบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ62 ผก. 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 62 ผก. 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 62 ผก. 4.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62 ผก. 4.4 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธ์ุ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูปตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาพืชศาสตร์ (พืชสวน) เอกพืชผัก คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีการผลิตพืชผักในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท โดยมีนักศึกษาที่เรียนในระดับปริญญาตรีประมาณ 200 คน และปริญญาโทประมาณ 1-2 คน สำหรับด้านการเรียนการสอนจะเน้นการปฏิบัติได้จริงอย่างถูกต้อง โดยเนื้อหามีการเรียนการสอนเกี่ยวกับระบบการผลิตพืชผักที่ปลอดภัย (Good Agricultural Practice : GAP) ระบบการผลิตพืชผักอินทรีย์ (Organics) การผลิตพืชผักในสารละลาย (Hydroponics) การผลิตพืชผักในโรงเรือน (GreenHouse) และการผลิตผักแบบ Plant Factory โดยผักที่ใช้ในการเรียนการสอนในนั้นมีทั้งกลุ่มพืชผักฤดูร้อน พืชผักฤดูหนาว การผลิตพืชผักพื้นเมือง พืชผักสวนครัว พืชผักสมุนไพรและการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชผัก เป็นต้น จากกิจกรรมต่าง ๆ ดังกล่าวนอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและการวิจัยภายในสาขาพืชผักแล้ว ยังทำการเรียนการสอนบูรณาการร่วมกับสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่ สาขาส่งเสริมการเกษตร สาขาประมง สาขาอารักขาพืช สาขาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว สาขาปฐพีวิทยา เป็นต้น และยังเป็นประโยชน์แก่ เกษตรกร ประชาชนทั่วไป รวมทั้งนักเรียนและนักศึกษาที่เข้ามาศึกษาดูงานเป็นประจำ จากข้อมูลผู้เข้าศึกษาดูงานของฐานเรียนรู้การผลิตผัก ในปีงบประมาณ 2561 ปรากฏว่ามีผู้เข้าศึกษาดูงานประมาณ 1,359 คน ในอดีตที่ผ่านมากิจกรรมแปลงสาธิตต่าง ๆ ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพราะขาดงบประมาณและอัตรากำลังสนับสนุนงานด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน จึงทำให้การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีดังกล่าวไม่ต่อเนื่อง การจัดทำโครงการนี้ขึ้นจะทำให้หลักสูตรฯสามารถใช้ศักยภาพที่มีอยู่สนับสนุนวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในหัวข้อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย (ด้านพืชผัก) เป็นการบูรณาการศาสตร์พระราชา และเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างสังคมเชิงนิเวศ ต้นแบบ (พืชผัก) และเป็นที่พึ่งของประชาชนแบบมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
พัฒนาให้หลักสูตรฯเอกพืชผักเป็นฐานเรียนรู้และสาธิตด้านการผลิตพืชผัก ให้แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่สนใจจะนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพทั้งอาชีพหลักและอาชีพเสริม และเป็นฐานเรียนรู้ด้านพืชผักของนักเรียน นักศึกษา รวมทั้งนักวิชาการและเจ้าหน้าที่ส่งเสริม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตผัก
KPI 1 : ร้อยของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพ่ิมขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนฐานเรียนรู้ด้านพืชผัก
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายการบริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50000 บาท 50000
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กร ที่รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยขน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 คน 1000
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตผัก
ชื่อกิจกรรม :
แปลงสาธิตเป็นแหล่งศึกษาดูงานการผลิตผัก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/11/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ถาดเพาะ 500 ถาด ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ปุ๋ยอินทรีย์ 50 กระสอบ ๆ ละ 390 บาท เป็นเงิน 19,500 บาท
พลาสติกคลุมแปลง จำนวน 10 ม้วน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ขุยมะพร้าว จำนวน 20 กระสอบ ๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
เมล็ดพันธุ์ผักกวางตุ้ง จำนวน 5 กระป๋อง ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
เมล็ดพันธุ์ผักบุ้ง จำนวน 10 กก ๆ ละ 180 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
เมล็ดพันธุ์แตงกวา จำนวน 1 กระป๋อง ๆ ละ 650 บาท เป็นเงิน 650 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่พบ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
กิจกรรมที่กำหนดเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล