12960 : โครงการใช้วัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ดในถุงพลาสติกเพื่อใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุเพาะกล้าทดแทนการซื้อวัสดุเพาะกล้าสำเร็จรูป
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
อาจารย์ ดร.สุเทพ วัชรเวชศฤงคาร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/11/2561 15:07:37
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  430  คน
รายละเอียด  1. กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักในระบบเกษตรอินทรีย์ (Organic) ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอื่นๆ 2. กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักในระบบปลอดภัย (GAP) ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอื่นๆ 3. คณะต่างๆภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เช่น คณะผลิตกรรมการเกษตร 4. สาขาต่างๆที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับสาขาพืชผัก เช่น สาขาส่งเสริมการเกษตร สาขาประมง 5. นักเรียน นักศึกษาจากโรงเรียนและสถาบันการเกษตรจากทั่วประเทศ ฯลฯ 6. ประชาชนผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2562
แผนงาน ยุทธศาสตร์
แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน
โครงการ โครงการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน
กิจกรรมหลัก ดำเนินการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน
แผนงาน บริการวิชาการแก่ชุมชน
งาน บริการวิชาการแก่ชุมชน
กองทุน บริการวิชาการ
งบ เงินอุดหนุน
รายการ เงินอุดหนุนโครงการใช้วัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ดในถุงพลาสติกเพื่อใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุเพาะกล้าทดแทนการซื้อวัสดุเพาะกล้าสำเร็จรูป
2562 625,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร
น.ส. จันทร์เพ็ญ  สะระ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ62 ผก. 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 62 ผก. 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 62 ผก. 4.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62 ผก. 4.4 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธ์ุ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูปตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การทำการเกษตรในปัจจุบันเกษตรกรพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากภายนอกเป็นหลัก ทำให้ได้ผลกำไรจากกการเพาะปลูกพืชน้อย หรือประสบปัญหาขาดทุนเนื่องจากต้องซื้อปัจจัยการผลิตทุกครั้ง โดยขาดแนวคิดของการพึ่งพาตนเองในการที่จะลดการซื้อปัจจัยการผลิต เช่นวัสดุเพาะกล้า วัสดุปลูก และปุ๋ยหมักที่ได้จากการนำวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรในแหล่งผลิตนั้นนำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดนั้นจึงเป็นแนวทางที่สามารถช่วยลดต้นทุนด้านปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกรได้ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับในสภาพปัจจุบันที่ประสบปัญหามลภาวะจากขยะเหลือใช้เหล่านี้ จึงต้องมีการจัดการขยะเหลือศูนย์ หรือ Zero Waste ที่ผ่านมาการนำเอาวัสดุอินทรีย์ (Organic Waste) เหลือใช้จากการเกษตรมาใช้เป็นปุ๋ย และวัสดุปรับปรุงดิน ทั้งนี้เพราะวัสดุเหลือใช้บางชนิดมีคุณสมบัติและองค์ประกอบที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชและการปลดปล่อยธาตุอาหาร วัสดุเหลือใช้ที่นำมาศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ ขุยมะพร้าว ขี้เถ้าแกลบ และก้อนเห็ดเก่า โดยเฉพาะก้อนเห็ดเก่าเป็นวัสดุเหลือใช้หลักที่สาขาพืชผัก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดการเรียนการสอนด้านพืชผัก และการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ มีฐานเรียนรู้และโครงการวิจัยที่เกี่ยวกับการเพาะเห็ดทำให้มีก้อนเห็ดเก่าในปริมาณมาก นอกจากนี้ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ และลำพูนมีเกษตรกรประกอบอาชีพเพาะเห็ดถุงจำนวนมากทำให้มีก้อนเห็ดเก่าเหลือใช้ปริมาณมาก เกษตรกรไม่มีการนำก้อนเห็ดเก่าไปใช้ประโยชน์ จึงกลายเป็นขยะทางการเกษตร ดังนั้นโครงการนี้จึงเป็นงานที่มีความสำคัญอย่างมากต่อการยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรด้านการลดต้นทุนปัจจัยการผลิต และการจัดการขยะเหลือใช้จากการเกษตร โดยทำการศึกษากรรมวิธีการหมักที่มีผลต่อคุณสมบัติทางเคมีของวัสดุตั้งต้น และศึกษาถึงอัตราส่วนที่เหมาะสมของวัสดุเหลือใช้ เพื่อผลิตวัสดุเพาะกล้าที่มีคุณสมบัติที่ดีใกล้เคียงกับวัสดุเพาะกล้าสำเร็จรูปนำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งองค์ความรู้ที่ได้จากโครงการนี้ จะนำไปสู่การพัฒนาการทำการเกษตรแบบยั่งยืน เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมของวัสดุเหลือใช้สำหรับผลิตวัสดุเพาะกล้า
เพื่อเป็นแหล่งผลิตวัสดุเพาะกล้าสำหรับระบบเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : วัสดุเหลือใช้ที่สามารถใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุเพาะกล้าทดแทนการซื้อวัสดุเพาะกล้าสำเร็จรูป
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 2 : แหล่งเรียนรู้และบริการวิชาการทางด้านการผลิตวัสดุเพาะกล้าในระบบอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 แหล่ง 1
KPI 3 : ร้อยละของงบประมาณที่ใช้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 4 : จำนวนผู้รับบริการฝึกอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 30
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนสูตรของวัสดุเพาะกล้าที่ทำการผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 สูตร 10
KPI 7 : จำนวนผู้รับบริการศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 400
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : วัสดุเหลือใช้ที่สามารถใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุเพาะกล้าทดแทนการซื้อวัสดุเพาะกล้าสำเร็จรูป
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 1การใช้วัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ดในถุงพลาสติกเพื่อใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุเพาะกล้าทดแทนการซื้อวัสดุเพาะกล้าสำเร็จรูป (การอบรม)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาในการขนและหมักขยะทางการเกษตรเพื่อใช้เป็นส่วนประกอบในการผลิตวัสดุเพาะกล้า จำนวน 50 กอง x 1,000 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการในการผสมวัสดุเพาะกล้าที่ผ่านกระบวนการหมัก จำนวน 2,000 กิโลกรัม x 10 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการใส่วัสดุเพาะกล้า ลงถาดเพาะและหยอดเมล็ดลงถาดเพาะ จำนวน 2,000 ถาด x 50 บาท เป็นเงิน 100,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการดูแลรักษารดน้ำต้นกล้าผัก จำนวน 2,000 ถาด x 20 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการช่วยปฎิบัติงานด้านงานนโยบาย แผนฯ 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 30 คน x 35 บาท x 2 มื้อ เป็นเงินจำนวน 2,100 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 30 คน x 120 บาท x 1 มื้อ เป็นเงินจำนวน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 23,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 360,550.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 625000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การหมักขยะทางการเกษตรอาจจะต้องใช้เวลานาน
สภาพการงอกของเมล็ดผักแต่ละชนิดหลังจากเพาะเมล็ดลงบนวัสดุเพาะกล้าอาจขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและการพักตัวของเมล็ด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ทำให้วัสดุเหล่านั้นกลายเป็นชิ้นเล็กๆ ก่อนนำไปหมัก
ทำลายการพักตัวของเมล็ดก่อนที่จะเมล็ดไปหยอดบนวัสดุเพาะกล้า
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การประยุกต์ใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อทำปุ๋ยหมัก
ช่วงเวลา : 01/12/2561 - 24/11/2561
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล