12956 : โครงการยกระดับการผลิตเห็ดถั่งเช่า และใบบัวบก เพื่อเวชสำอาง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
รองศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์ สาครวาสี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/12/2561 10:47:19
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้ในพื้นที่อำเภอสันทราย อำเภอดอยสะเก็ด สารภีและอำเภอเมือง
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดิน ปี 2562 แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการ โครงการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน กิจกรรมหลัก ดำเนินการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน แผนงาน บริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน รายการเงิน 2562 1,632,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. สิริวัฒน์  สาครวาสี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ62 ผก. 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 62 ผก. 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 62 ผก. 4.4 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมเครือข่ายเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กลยุทธ์ 62 ผก. 4.4 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธ์ุ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูปตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัญหาการตกค้างของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในผักได้กลายเป็นประเด็นสำคัญที่ทำให้คนทั่วประเทศให้ความสนใจในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ล่าสุดเมื่อสิงหาคม 2560 ที่ผ่านมา Thai Pan ซึ่งเป็นองค์กรอิสระที่ไม่แสวงหาผลกำไรได้เผยแพร่ผลการสุ่มวิเคราะห์การตกค้างสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ในผักยอดนิยม ผลไม้และและผักพื้นบ้านที่วางขายอยู่ในตลาดและซุปเปอร์มารเกต โดยผลการสำรวจพบว่าผักที่คนไทยนิยมบริโภค ได้แก่กะเพรา พริก คะน้าและถั่วฝักยาว มีการตกค้างของสารเคมีสารเคมีตกค้างเกินมาตรฐาน 64% และผลไม้ 33% ที่น่าตกใจยิ่งกว่านั้นคือแม้แต่ในผลผลิตที่เป็นผักพื้นบ้านยอดนิยมพบสารตกค้างในตัวอย่างสูงถึง 43% โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บัวบก ซึ่งเป็นผักพื้นบ้านที่ได้รับความนิยมในการบริโภคทั้งสดและการแปรรูปเพื่ออุตสาหกรรมยา และเครื่องสำอาง ทุกส่วนของบัวบกมีสรรพคุณในการรักษาอาการต่าง ๆ เช่น แก้ช้ำใน ขับปัสสาวะ แก้อ่อนเพลีย แก้โรคเรื้อน แก้กามโรค แก้ตับอักเสบ บำรุงหัวใจ ลดอาการอักเสบบวม (เพ็ญนภา, 2549) สาระสำคัญออกฤทธิ์สำคัญที่พบในบัวบกเป็นสารในกลุ่มไตรเทอร์ปีน (triterpenenes) ซึ่งมีหลายชนิด เช่น เอเชียติกโคไซด์ (asiaticcoside) กรดเอเชียติก (asiatic acid) เมเดแคสโซสิด (madecassosid) และกรดเมเดแคสสิค (madecassic acid) สารเหล่านี้ทำหน้าทีในกระบวนการเร่งการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ ช่วยกระตุ้นการสร้างดีเอ็นเอ ลดการอักเสบ รักษาแผล รักษาบาดแผล และสามารถทำให้เลือดหยุดเร็ว เร่งกระบวนการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ ช่วยลดการเกิดผังผืด (fibrosis) ของบาดแผล รักษาแผลเป็นและแผลเป็นนูน (keloid) และเพิ่มฟทธิ์การต้านออกซิเดทีฟของแผล (Zheng and Qin, 2007) และยังพบว่ามีสารที่มีฤทธิ์ในการกระตุ้นการสร้างคลอลาเจนซึ่งเป็นสารที่มีฤทธิ์การต้านการเกิดออกซิเดชัน ตลอดจนมีปริมาณของสารประกอบฟีนอลิกรวม (Zainol and Abd-Hamid, 2003) ในประเทศพบว่ามีบัวบักประมาณ 16 สายพันธุ์ โดยพันธุ์บัวบกที่มีผลผลิตสูงสุดคือพันธุ์ตราด รองลงมาคือพันธุ์เชียงราย พะเยา เพชรบุรี นครปฐม ราชบุรี ระยองและจันทบุรี ตามลำดับ ให้ผลผลิตสดอยู่ระหว่าง 800-1,456 กิโลกรัมต่อไร่ พันธุ์ที่มีสารเอเชียติโคไซด์สูงสุด (0.59%) คือ พันธุ์ระยอง ซึ่งมีค่าสูงกว่าสมุนไพรไทยที่มีค่าอยู่ที่ 0.5% ซึ่งราคาใบสดที่เกษตรสามารถจำหน่ายได้อยู่ระหว่าง 40-80 บาท ราคาใบบัวบกนั้นไม่ค่อยแน่นอนช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม และตุลาคมถึงธันวาคม เป็นช่วงที่ใบบัวบกมีราคาสูงสุด โดยพื้นที่ปลูกบัวบกเพื่อการค้าหลักอยู่ที่จังหวัดนครปฐม การผลิตบัวบกเชิงการค้านั้นเกษตรกรมักจะประสบปัญหาการแพร่ระบาดของโรคและแมลง รวมทั้งวัชพืชจึงทำให้เกษตรกรต้องฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืชเพื่อควบคุมและป้องกันศัตรูพืช อีกอย่างการปลูกเป็นการปลูกลงดิน จึงทำให้เกิดการปนเปื้อนทางเคมีของสารพิษและโลหะหนักต่าง ๆ และทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ก่อโรค ในปี2560ผลผลิตบัวบกจากผลการตรวจวิเคราะห์สารเคมีอันตรายตกค้างในผลผลิตบัวบกของ Thai PAN พบว่ามีสูงถึงร้อยละ 90 ดังนั้นการผลิตวัตถุดิบสมุนไพรให้มีคุณภาพที่ดีและปริมาณผลผลิต รวมถึงสารสำคัญที่สูงตั้งแต่แปลงจนถึงการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์นอกจากจะมีสายพันธุ์ที่ดีแล้วจำเป็นต้องมีเทคโนโลยีที่เหมาะสม และปลอดจากการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ถั่งเช่า เป็นสมุนไพรจีนเกิดจากหนอนผีเสื้อ ได้แก่ Thitarodes, Hepialidae และ Lepidoptera เป็นต้น ซึ่งจำศีลอยู่ใต้ดินในฤดูหนาวแถบที่ราบสูงทิเบต (Tibetan) และหิมาลัย (Himalayas) บริเวณทุ่งหญ้าที่ความสูงประมาณ 3,500-5,000 เมตร โดยถูกสปอร์ของเห็ดราในสกุล Ophiocordyceps อาศัยเป็นปรสิตและเติบโตสร้างเส้นใยบนตัวหนอนผีเสื้อออกมาทางส่วนหัวของตัวหนอนในฤดูร้อน เห็ดนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cordyceps sinensis ช่วงหลายปีที่ผ่านประเทศจีนมีการนำถั่งเช่ามาใช้เป็นยาแผนโบราณ และอาหารเพื่อ สุขภาพเพื่อใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย และเป็นอาหารบำรุงร่างกาย โดยเฉพาะปอดและไต (ปัจจุบันถั่งเช่าถูกใช้ในการรักษาโรคต่างๆ เช่น โรคที่เกี่ยวกับระบบประสาท โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเกี่ยวกับ ตับ บรรเทาอาการหย่อน และเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ และชะลอความชรา เป็นต้น ในประเทศไทยเองได้มีการนำถั่งเช่ามาเพื่อใช้เป็นสมุนไพรสำหรับบำรุงร่างกายรวมทั้งเป็นอาหารเสริมเนื่องจากในถั่งเช่ามีมีโครงสร้างเหมือนกับสารอะดิโนซิน ต่างกันที่สารคอร์ไดซิปินขาดหมู่ไฮดรอกซิลตรงคาร์บอนที่ 3 หรือมีชื่อว่า“3′-deoxyadenosine” มีฤทธิ์ต้านมะเร็ง (anticancer) และต้านการแพร่กระจายของมะเร็ง (antimetastatic) จึงทำให้ได้รับความนิยมในการเพาะเลี้ยงเพิ่มมากขึ้นซึ่งราคาที่สามารถจำหน่ายได้ในท้องตลาดอยู่ระหว่าง 5000-140000 บาท จึงทำให้ได้รับความสนใจจากเกษตรกรและผู้ประกอบการเพื่อทำการผลิตเชิงพานิชย์ แต่อย่างไรก็ตามการผลิตเห็ดถั่งเช่ายังประสบปัญหาหลายอย่างเช่น สภาวะแวดล้อมที่ต้องควบคุมให้เหมาะสมและใกล้เคียงกับความต้องการของเห็ด ต้นทุนการผลิตที่สูงโดยเฉพาะค่าไฟฟ้า และการผลิตที่ให้ได้สาระสำคัญออกฤทธิ์สูงๆ ยังมีจำกัด ดังนั้นการผลิตให้ทั้งปริมาณและคุณภาพที่ดีจึงมีความจำเป็น เทคโนโลยีการผลิตพืชในระบบปิด (Close Plants Production System: CPPS) และการปลูกในระบบกึ่งปิด (Semi-Close Plants Production System: semi-CPPS) จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถขจัดปัญหาข้างต้นได้ และยังสามารถชักนำให้พืชสามารถผลิตสารสำคัญได้ในปริมาณที่สูงขึ้นได้โดยการใช้แสงเทียมหรือการดัดแปลงสภาพแวดล้อม การผลิตพืชในระบบ CPPS ถูกใช้อย่างแพร่หลายในประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา เพื่อจุดประสงค์ในเชิงพาณิชย์ ระบบนี้มีการควบคุมสภาพแวดล้อมในการปลูกพืชโดยใช้อุปกรณ์ เช่น แหล่งกำเนิดแสงเทียม เครื่องปรับอากาศและระบบเพิ่มปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ จึงมีความสามารถในการผลิตพืชที่มีคุณภาพสูงในทุกสถานที่และทุกสภาพอากาศ งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นการเพิ่มปริมาณผลผลิตและสารสำคัญในใบบัวบกให้สูงขึ้นโดยใช้แสงเทียมจากหลอดแอลอีดี (Light Emitting Diode: LED) ร่วมกับพัฒนาระบบปลูกพืชแบบไม่ใช้ดินเพื่อยกระดับผลผลิตตั้งต้นสำหรับการแปรรูปเพื่อเวชสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อยกระดับการผลิตเห็ดถั่งเช่าและบัวบกโดยการสร้างปัจจัยแวดล้อมการผลิตและถ่ายทอดองค์ความรู้สำหรับการจัดการการผลิตที่ปลอดภัย
เพื่อยกระดับองค์ความรู้ของเกษตรกรเพาะเลี้ยงเห็ดถั่งเช่า
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : มีศูนย์เรียนรู้การผลิตถั่งเช่าและบัวบกในระบบโรงงานพืช เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงถั่งเช่ามีความเข้าใจกระบวนการผลิตที่ถูกต้อง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพจากถั่งเช่าและบัวบก เอกสารเผยแพร่การจัดการผลิตพืชอาหารในระบบโรงงานพืช และคู่มือการผลิตถั่งเช่า เกษตรกรได้รับการพัฒนาความรู้ด้านการผลิตที่ปลอดภัย
KPI 1 : สามารถเบิกจ่ายงบประมาณตามระยะเวลา
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 % 100
KPI 2 : ศูนย์เรียนรู้การพืชอาหารในระบบปิดแบบครบวงจร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ศูนย์ 1
KPI 3 : หนังสือระบบการเกษตรในอนาคต (สำหรับตัวแทนเผยแพร่ชุมชน ชุมชนละ 4 เล่ม)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 เล่ม 200
KPI 4 : ผลผลิตเห็ดถั่งเช่าแห้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2.5 2.5 กิโลกรัม 5
KPI 5 : ความพึงพอใจของเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 % 80
KPI 6 : ผลผลิตแห้งบัวบก
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 กิโลกรัม 100
KPI 7 : จำนวนผู้เข้าอบรมการผลิตสตรอว์เบอร์รีและการผลิตผักในระบบปิด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 8 : คู่มือการผลิตเช่า (สำหรับตัวแทนเผยแพร่ชุมชน ชุมชนละ 5 เล่ม)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
600 เล่ม 600
KPI 9 : ผลิตภัณฑ์จากถั่งเช่าและบัวบก
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ชนิด 3
KPI 10 : การบริหารโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่ตามกำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 % 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : มีศูนย์เรียนรู้การผลิตถั่งเช่าและบัวบกในระบบโรงงานพืช เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงถั่งเช่ามีความเข้าใจกระบวนการผลิตที่ถูกต้อง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพจากถั่งเช่าและบัวบก เอกสารเผยแพร่การจัดการผลิตพืชอาหารในระบบโรงงานพืช และคู่มือการผลิตถั่งเช่า เกษตรกรได้รับการพัฒนาความรู้ด้านการผลิตที่ปลอดภัย
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมการยกระดับการผลิตเห็ดถั่งเช่า และใบบัวบก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์  สาครวาสี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (วิทยากร ห้องเดี่ยว) จำนวน 2 ห้องๆละ 1 คืนๆละ 1,200 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คนๆละ 2มื้อๆละ 35 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเอกสารประกอบการฝึกอบรม จำนวน 40 คนๆละ 1 ชุดๆละ 70 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าห้องประชุม จำนวน 1 ห้องๆละ 1 วันๆละ 2,500 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำหนังสือเกษตรกรรมแห่งอนาคต จำนวน 1 ครั้ง รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 220,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 220,000.00 บาท 0.00 บาท 220,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จัดจ้างเหมาผลิตเห็ดถั่งเช่า จำนวน 10 ครั้งๆละ 200 ขวด ครั้งละ 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานประสานงานโครงการ จำนวน 1 คนๆละ 9 เดือนๆละ 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
54,000.00 บาท 54,000.00 บาท 54,000.00 บาท 0.00 บาท 162,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ (ตั๋วเครื่องบินไปกลับวิทยากร) จำนวน 2 คนๆละ 1 ครั้งๆละ 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางวิทยากร ไป-กลับ จำนวน 2 คนๆละ 2 เที่ยวๆละ 400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบรรจุแคปซูลถั่งเช่าผสมเห็ดหลินจือและบรรจุชาสมุนไพร จำนวน 1 ครั้ง รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 270,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 270,000.00 บาท 0.00 บาท 270,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คนๆละ 4 ชั่วโมงและ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำหรับการฝึกอบรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุไฟฟ้า เช่น หลอดไฟ LED สายไฟ สวิชไฟ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 34,317.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 34,317.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเคมีและวิทยาศาสตร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 469,720.00 บาท 0.00 บาท 469,720.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 36,200.00 บาท 0.00 บาท 36,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
48,963.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 48,963.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1494300.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การแปรรูปและสร้างผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์  สาครวาสี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุเกษตร จำนวน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การฝึกอบรมการส่งเสริมการเรียนรู้การผลิตพืชในระบบปิด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์  สาครวาสี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ (ตั๋วเครื่องบินไปกลับวิทยากร) จำนวน 2 คนๆละ 1 ครั้งๆละ 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (วิทยากร ห้องเดี่ยว) จำนวน 2 ห้องๆละ 1 คืนๆละ 1,200 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางวิทยากร ไป-กลับ จำนวน 2 คนๆละ 2 เที่ยวๆละ 400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 120 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อๆละ 35 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเอกสารประกอบการฝึกอบรม จำนวน 50 คนๆละ 1 ชุดๆละ 70 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าห้องประชุม จำนวน 1 ห้องๆละ 1 วันๆละ 2,500 บาท จำนวน 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คนๆละ 2 ชั่วโมงและ 1.5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร (บุคลากรภายนอก) จำนวน 2 คนๆละ 2 ชั่วโมงและ 1.5 ชั่วโมงๆละ 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำหรับการฝึกอบรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 107800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การแปรรูปและสร้างผลิตภัณฑ์ ผลผลิตออกไม่สม่ำเสมอ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
วางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับระยะเวลา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล