12938 : โครงการจัดทำแม่โจ้โพลล์ ประจำปี 2562
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นายยมนา ปานันท์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/10/2561 14:53:37
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1000  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมายในการเก็บข้อมูลโพลล์ ประกอบด้วย 1)ประชาชนทั่วประเทศ จำนวน 800 – 1,500 ราย 2)ประชาชนภาคเหนือ จำนวน 500 – 800 ราย 3)เยาวชนทั่วประเทศ จำนวน 1,000 – 1,500 ราย 4)เยาวชนภาคเหนือ จำนวน 800 – 1,000 ราย 5)เกษตรกรทั่วประเทศ จำนวน 300 – 600ราย ราย เกษตรกรภาคเหนือ หรือเกษตรรายพืช จำนวน 300 – 500 ราย - กลุ่มเป้าหมายในการนำเสนอและเผยแพร่ผลการสำรวจข้อมูล ประกอบด้วย สื่อมวลชน ทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์และหนังสือพิมพ์ รวมถึงสื่อออนไลน์ จำนวน 3 แหล่ง/โพลล์ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป และมีมูลค่าประชาสัมพันธ์ที่เพิ่มมากขึ้น
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2562 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรชัย  กังวล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 62ECON-3 การบริการวิชาการเพื่อชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ 62ECON 3.1 เพื่อให้บริการวิชาการที่สอดคล้องและตอบสนองความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 62ECON 3.1 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 62ECON 3.1 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 62ECON 3.1 เพื่อให้บริการวิชาการที่สอดคล้องและตอบสนองความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 62ECON 3.1 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 62ECON 3.1 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 62ECON-3 การบริการวิชาการเพื่อชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ 62ECON 3.1 เพื่อให้บริการวิชาการที่สอดคล้องและตอบสนองความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 62ECON 3.1 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 62ECON 3.1 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 62ECON 3.1 เพื่อให้บริการวิชาการที่สอดคล้องและตอบสนองความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 62ECON 3.1 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 62ECON 3.1 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 62ECON 3.1.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินการสำรวจความคิดเห็น (โพลล์) กับเกษตรกรและประชาชนทั่วประเทศ ในประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และด้านการเกษตร ทั้งในด้านการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาด ซึ่งในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา มีผลการดำเนินการประกอบด้วย ผลผลิต (Output) สามารถจัดทำผลสำรวจความคิดเห็น (โพลล์) เป็นจำนวนถึง 237 โพลล์ ซึ่งถือเป็นช่องทางหนึ่งในการสะท้อนความคิดเห็นของเกษตรกร และประชาชนทั่วประเทศ เพื่อให้หน่วยงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้รับรู้ถึงความต้องการและปัญหาที่เกิดขึ้นกับกลุ่มคนเหล่านี้ ซึ่งผลที่ได้รับจากการเผยแพร่ผลการสำรวจความคิดเห็น (โพลล์) (Outcome) คือการได้รับความสนใจจากสื่อต่างๆ ในการนำผลการสำรวจไปเผยแพร่ มากกว่า 40 เรื่อง ต่อปี เช่นสื่อโทรทัศน์ในเครือเนชั่น สถานีโทรทัศน์สี ช่อง 3 ช่อง 7 NBT ThaiPBS สื่อวิทยุ Modern Radio เชียงใหม่ สถานีวิทยุแห่งประเทศไทย สื่อหนังสือพิมพ์คมชัดลึก กรุงเทพธุรกิจ เดลินิวส์ สยามรัฐ และสื่อออนไลน์ website Manageronline Matichononline และอื่น ๆ ซึ่งสามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยให้เป็นที่รู้จักแก่ประชาชนทั่วไป ทั้งประเทศอย่างกว้างขวาง ให้สามารถรับรู้ถึงอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านการเกษตรได้เป็นอย่างดี โดยจากการตีมูลค่าประชาสัมพันธ์จากสื่อต่าง ๆ นั้น ผลงานแม่โจ้โพลล์สามารถสร้างมูลค่าประชาสัมพันธ์ได้สูงถึง 2,866,000 บาท ในปี 2553 จำนวน 4,447,089 บาท ในปี 2554 จำนวน 3,055,864.50 บาท ในปี 2555 จำนวน 2,839,065 บาท ในปี 2556 1,079,915 ในปีงบประมาณ 2557 และในปีนี้ งบประมาณ 2558 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตรมีการจัดทำโพลล์ จำนวน 23 โพลล์ และปีงบประมาณ 2559 จำนวน 1,776,498.5 บาท โดยแบ่งเป็น โพลล์ทางด้านการเกษตรร้อยละ 60 และโพลล์สถานการณ์ต่างๆ ร้อยละ 40 มีการตอบรับจากสื่อต่างๆมากมาย เช่น สื่อโทรทัศน์ในเครือเนชั่น สถานีโทรทัศน์สี ช่อง 3 ช่อง 7 NBT ThaiPBS สื่อวิทยุ Modern Radio เชียงใหม่ สถานีวิทยุแห่งประเทศไทย สื่อหนังสือพิมพ์คมชัดลึก กรุงเทพธุรกิจ เดลินิวส์ สยามรัฐ และสื่อออนไลน์ website Manageronline Matichononline และอื่น ๆ ซึ่งสามารถสร้างชื่อเสียง ให้แก่มหาวิทยาลัยให้เป็นที่รู้จักแก่ประชาชนทั่วไป ทั้งประเทศอย่างกว้างขวาง ให้สามารถรับรู้ถึงอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ที่เป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านการเกษตรได้เป็นอย่างดี โดยจากการตีมูลค่าประชาสัมพันธ์จากสื่อต่าง ๆ นั้น ในปี 2559 มีมูลค่าประชาสัมพันธ์จำนวน 1,776,498.5 บาท และปี 2561 มีมูลค่าประชาสัมพันธ์ จำนวน 850,326 บาท ดังนั้น เพื่อความต่อเนื่องของการให้บริการวิชาการแก่สังคมและการสร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้น ในปีงบประมาณ 2562 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตรได้วางแผนการปฏิบัติงาน จัดทำแม่โจ้โพลล์ จำนวน 15-20 โพลล์/ปี (ซึ่งจะดำเนินการสำรวจความคิดเห็น เฉลี่ยเดือนละ 2 โพลล์) โดยจะเน้นด้านการเกษตรเป็นหลัก รวมถึงเทคโนโลยีด้านการเกษตร ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และประเทศชาติ ซึ่งถือเป็นส่วนสำคัญของการดำเนินงานในด้าน KPI คณะเศรษฐศาสตร์ และสอดคล้องกับนโยบายของสภามหาวิทยาลัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาในประเด็นต่างๆ
เพื่อนำเสนอความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องแต่ละฝ่าย พร้อมแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
เพื่อเป็นการบริการวิชาการให้แก่สังคม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการสำรวจโพลล์ที่เผยแพร่ต่อสาธารณชนผ่านสื่อต่างๆอย่างต่อเนื่อง
KPI 1 : ร้อยละของบริการวิชาการและเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.3
KPI 3 : จำนวนผลสำรวจต่อปี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 เรื่อง 20
KPI 4 : จำนวนของผลการสำรวจ โพลล์ ด้านการเกษตร เศรษฐกิจเกษตรต่อการจัดทำโพลล์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 เรื่อง 12
KPI 5 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 1000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการสำรวจโพลล์ที่เผยแพร่ต่อสาธารณชนผ่านสื่อต่างๆอย่างต่อเนื่อง
ชื่อกิจกรรม :
การจัดทำผลการสำรวจความคิดเห็น โพลล์ จำนวน 20 เรื่อง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.สุรชัย  กังวล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล วุฒิ ป.ตรี จำนวน 1 อัตราๆละ 15,000 บาท/เดือน จำนวน 9 เดือน (เก็บข้อมูล ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล วุฒิ ป.ตรี จำนวน 1 อัตราๆละ 15,000 บาท/เดือน จำนวน 9 เดือน (เก็บข้อมูล ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
เช่น ปากกา ดินสอ , ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าไปรษณียากร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 300000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การจัดทำโพลล์ ผลสำรวจต่างๆ มีข้อจำกัดด้านประเด็นเนื้อหาโพลล์ที่ต้องระมัดระวังในของประเด็น เช่น ประเด็นทางการเมือง
การเก็บข้อมูลในบางประเด็นจะใช้ระยะเวลาค่อนข้างนาน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีการตรวจสอบประเด็นหัวข้อและคำถาม ก่อน เพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
หาตัวแทนในการเก็บข้อมูลเพื่อให้สามารถเก็บข้อมูลได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล