12708 : โครงการพัฒนาและเสริมสร้างทักษะการวิเคราะห์การลงทุนในตลาดการเงินแก่นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/8/2561 10:27:52
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/08/2561  ถึง  29/08/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  185  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ชั้นปีที่ 3-4 จำนวน 177 คน คณาจารย์ในหลักสูตร 6 คน และคณะวิทยากร 2 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1) 2561 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี  สิงหะวาระ
รองศาสตราจารย์ ดร. อารีย์  เชื้อเมืองพาน
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61MJU1.5.3 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้านตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ก่อนสำเร็จการศึกษา
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ด้านการพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61ECON-1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61ECON 1.3 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61ECON 1.8 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ Green Economy
กลยุทธ์ 61ECON 1.3.7 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ Green economy
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการนี้เป็นโครงการที่มีความเชื่อมโยงกับ โครงการอบรมให้ความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์การเงิน และเตรียมความพร้อมการสอบรับใบอนุญาตสำหรับผู้แนะนำการลงทุน เป็นหลักสูตรผู้แนะนำการลงทุน (Investment Consultant: IC) IC Plain และ IC Complex จะมีผลบังคับใช้ต้นปี 2561 สืบเนื่องมาจากผู้ที่ผ่านการอบรมใบอนุญาตผู้แนะนำการลงทุน(Investment Consultant, IC) ก่อนหลักเกณฑ์และระเบียบของตลาดหลักทรัพย์มีการเปลี่ยนแปลงต้นปี 2561 ซึ่งผู้ที่สามารถแนะนำการขายหลักทรัพย์ เช่น ตราสารทุน ตราสารหนี้ กองทุน และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือ ตราสารอนุพันธ์ ให้กับผู้ที่สนใจลงทุนตัดสินใจซื้อ ดังนั้นผู้ที่ต้องมีใบอนุญาตผู้แนะนำการลงทุน เช่น มาร์เก็ตติ้งหุ้น, พนักงานธนาคารหรือบริษัทหลักทรัพย์ที่แนะนำหน่วยลงทุนของกองทุนรวม, ตัวแทนประกันที่แนะนำประกันแบบควบการลงทุน ฯลฯ อีกทั้งในคุณสมบัติของผู้แนะนำการลงทุน ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็นหลายประเภท แต่ ที่สำคัญจะมี 2 ประเภทคือ ผู้แนะนำการลงทุน “ด้านหลักทรัพย์” คือ แนะนำ ตราสารทุน + ตราสารหนี้ + กองทุน ได้ และผู้แนะนำการลงทุน “ด้านตลาดทุน” คือ แนะนำ ตราสารทุน + ตราสารหนี้ + กองทุน + ตราสารอนุพันธ์ ได้ อีกทั้งพัฒนาทักษะความรู้ในหลักสูตร CISA หรือ Certified Investment and Securities Analyst Program เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการพัฒนาความรู้ด้านการวิเคราะห์และบริหารการลงทุนทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึก เพื่อผู้ผ่านหลักสูตรสามารถประเมินค่าสินทรัพย์เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาลงทุนประเมินความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการลงทุน รวมทั้งเปรียบเทียบการลงทุนในรูปแบบต่างๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจและเรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับจรรยาบรรณและหลักปฏิบัติวิชาชีพของการวิเคราะห์ เพื่อยกระดับมาตรฐานบุคลากรด้านการวิเคราะห์การลงทุนและการจัดการลงทุนสู่สากล ดังนั้นในโครงการอบรมครั้งนี้จะเน้นการพัฒนา และเสริมสร้างทักษะด้านการลงทุนแก่นักศึกษา ทั้งนี้นักศึกษาต้องเริ่มต้นสำรวจตนเอง ศึกษาข้อมูลและลักษณะการทำงานรวมทั้งการเตรียมตัวทดสอบใบอนุญาต ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการให้คำแนะนำการลงทุนและสร้างความมั่นใจว่า ผู้แนะนำมีความรู้เพียงพอ ชมรมเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ จึงได้จัดโครงการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบรับใบอนุญาตอผู้ผ่านหลักสูตรสามารถประเมินค่าสินทรัพย์เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาลงทุนประเมินความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการลงทุน รวมทั้งเปรียบเทียบการลงทุนในรูปแบบต่างๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจและเรียนรู้วิธีการปฏิบัติิงานให้สอดคล้องกับจรรยาบรรณและหลักปฏิบัติวิชาชีพของการวิเคราะห์ เพื่อยกระดับมาตรฐานบุคลากรด้านการวิเคราะห์การลงทุนและการจัดการลงทุนสู่สากล โดยมีบุคลากรคณาจารย์ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการลงทุนจากสถาบันการเงินชั้นนำ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิต่างสถาบันมาให้ความรู้แก่นักศึกษาในวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เวลา 08.30-16.30 น. ณ อาคารยรรยง สิทธิชัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนสอบใบอนุญาตประเมินค่าสินทรัพย์
เพื่อให้นักศึกษาได้เปิดโอกาสในการพัฒนาความรู้ด้านการลงทุน การวิเคราะห์และบริหารการลงทุนทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึก
เพื่อเป็นการเพื่อเตรียมพร้อมก่อนออกประกอบวิชาชีพทางด้านเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาความรู้ด้านการลงทุน การวิเคราะห์และบริหารการลงทุนทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึก
KPI 1 : ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯ (1.00-1.80= น้อยที่สุด, 1.81-2.60= น้อย, 2.61-3.40= ปานกลาง, 3.41-4.20= มาก และ 4.21-5.00= มากที่สุด)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯ (177 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาความรู้ด้านการลงทุน การวิเคราะห์และบริหารการลงทุนทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึก
ชื่อกิจกรรม :
อบรมความรู้ด้านการลงทุน การวิเคราะห์และบริหารการลงทุนทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึกแก่นักศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/08/2561 - 29/08/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง 25 บาท * 185 คน* 2 มื้อ เป็นจำนวนเงิน 9,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท * 185 คน * 1 มื้อ เป็นจำนวนเงิน 9,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ:ค่ารถยนต์ส่วนตัวของวิทยากร(จากมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ถึงมหาวิทยาลัยแม่โจ้) จำนวน 222 กิโลเมตร (ไป-กลับ) รวมระยะทาง 444 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นจำนวนเงิน 1,776 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,776.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร ตารางเมตรละ 150 บาท (1 ผืน x 450 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่ 2,104 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,104.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรจากหน่วยงานภาครัฐ ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง จำนวน 1 คน เป็นจำนวนเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรจากหน่วยงานเอกชน ชั่วโมงละ 1,200 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง จำนวน 1 คน เป็นจำนวนเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรมชุดละ 10 บาท จำนวน 177 ชุด เป็นจำนวนเงิน 1,770 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,770.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล