12189 : โครงการการเพาะเลี้ยงและบริหารจัดการสาหร่ายพวงองุ่นเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
น.ส.มินทร์ลดา บัวแสง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/8/2561 15:20:38
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/02/2561  ถึง  31/08/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมายจำนวน 20 คน ประกอบด้วย 1. นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้- ชุมพร จำนวน 20 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ใช้เงินยุทธศาสตร์ที่1 2561 5,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริหารจัดการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64MJU 1.3 ความเข้มแข็งของหลักสูตร คณาจารย์ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวชี้วัด 61MJU1.3.5 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร (คุณวุฒิตรง / ผลงานวิชาการถึง)
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.3.7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์มีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.การผลิตบัณฑิตทีเชี่ยวชาญทางด้านวิชาการและวิชาชีพตรงตามความต้องการของสังคม
เป้าประสงค์ 3.ระบบการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้สาระ,ปฏิบัติจริง,ทักษะทางสังคม,ทักษะชีวิต,ทักษะการคิดขั้นสูง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ตัวชี้วัด 3 จำนวนกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะ
กลยุทธ์ 1.ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและตรงตามความต้องการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาหร่ายพวงองุ่น เป็นสาหร่ายทะเลสีเขียว (green algae) หรือมีชื่อสามัญว่า Sea Grapes หรือ Green Caviar เนื่องจากมีเม็ดกลมและเป็นช่อคล้ายพวงองุ่น หรือคล้ายไข่ปลาคาร์เวียร์ เจริญเติบโตได้ดีในน้ำที่มีสารอาหารบริบูรณ์และแสงแดด เนื่องจากสาหร่ายพวงองุ่นเป็นสาหร่ายที่มีรสชาติดีและจัดเป็นอาหารสุขภาพ มีคุณค่าทางอาหารสูงอุดมด้วยวิตามินหลายชนิด ได้แก่ วิตามินบี1, บี2 วิตามินอี และมีเบต้าแคโรทีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของวิตามินเอ ปัจจุบันตลาดและผู้บริโภคมีแนวโน้มพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่คนให้ความสนใจกับการรักษาสุขภาพกันมากขึ้นจึงมีผู้ให้ความสนใจการเพาะเลี้ยงและแปรรูปสาหร่ายเพื่อสุขภาพชนิดนี้เป็นจำนวนมาก ซึ่งทางสาขาวิชาการประมงได้กำหนดให้หัวข้อ การเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดใหญ่ทางการค้า (สาหร่ายพวงองุ่นนับเป็นหนึ่งในสาหร่ายขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน) เป็นหนึ่งในหัวข้อสำหรับให้นักศึกษาเรียนในรายวิชา พล 341 เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อผลิตทรัพยากรประมงอย่างยั่งยืน ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้นักศึกษาเรียนรู้ในเรื่องของการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้เพื่อผลิตทรัพยากรประมงอย่างยั่งยืนในสภาวะโลกร้อน เช่น การนำเทคโนโลยีระบบปิดต่างๆ มาผลิตสัตว์และพืชน้ำให้ได้ปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานการแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมงในทางอุตสาหกรรม นอกจากนี้การเพาะเลี้ยงสาหร่ายพวงองุ่นยังสามารถนำไปบูรณาการกับรายวิชาของอาจารย์ท่านอื่นๆ ในสาขา อันได้แก่รายวิชา พล422 การเพาะเลี้ยงสาหร่ายและแพลงก์ตอน พล 451 เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการประมง ชป323 เทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้นทางการประมง และรายวิชาพล452 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากทรัพยากรในน้ำ นอกจากนี้อาจารย์ในสาขาได้มีการประชุมปรึกษาหารือและมีมติเห็นควรให้มีการบูรณาการการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชากับสาขาวิชาอื่น ทั้งสาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช และสาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว จึงได้พัฒนาออกมาเป็นโครงการ “การเพาะเลี้ยงและบริหารจัดการสาหร่ายพวงองุ่นเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว” ขึ้น โดยโครงการนี้จะมีการบูรณาการความรู้และการทำงานร่วมกันจากอาจารย์ในทุกๆ สาขาที่กล่าวมา เพื่อให้นักศึกษาได้มีทักษะทักษะพื้นฐานทางด้านการเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดใหญ่ การดูแลการใสปุ๋ย การแปรรูป การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการท่องเที่ยวเพื่อให้สามารถนำไปสร้างรายได้ และเพื่อให้เกิดทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นรวมถึงในชุมชนรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ที่กว้างขึ้นจากการเรียนภายในมหาวิทยาลัย และเกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อบูรณาการความรู้ในหัวข้อ “การเพาะเลี้ยงและบริหารจัดการสาหร่ายพวงองุ่นเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว” ให้แก่นักศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง (สาขาวิชาการประมง สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิตที่ 1.การศึกษาหาวิธีการที่เหมาะสมสำหรับเพาะเลี้ยงและแปรรูปสาหร่ายพวงองุ่นในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
KPI 1 : -จำนวนสาหร่ายพวงองุ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 10
KPI 2 : -ร้อยละของนักศึกษาที่ได้ฝึกทักษะด้านการเพาะเลี้ยง การทำวิจัย และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
ผลผลิต : ผลผลิตที่ 2.การบูรณาการความรู้ในหัวข้อ “การเพาะเลี้ยงและบริหารจัดการสาหร่ายพวงองุ่นเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว” (บรรยาย สาธิต)
KPI 1 : -จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 20
KPI 2 : -ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิตที่ 1.การศึกษาหาวิธีการที่เหมาะสมสำหรับเพาะเลี้ยงและแปรรูปสาหร่ายพวงองุ่นในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม
1.ทำการเพาะเลี้ยงสาหร่ายพวงองุ่นในพื้นที่ ม.แม่โจ้-ชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/02/2561 - 31/08/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุเกษตร เช่น พันธ์สาหร่าย , สายยาง ,ท่อพีวีซี.ปุ๋ย ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3000.00
ผลผลิต : ผลผลิตที่ 2.การบูรณาการความรู้ในหัวข้อ “การเพาะเลี้ยงและบริหารจัดการสาหร่ายพวงองุ่นเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว” (บรรยาย สาธิต)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม
1.มีการระดมความคิดและบูรณาการการเพาะเลี้ยงและแปรรูปสาหร่ายพวงองุ่นร่วมกับสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช,สาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/02/2561 - 31/08/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น กล่องพลาสติก เครื่องปรุง ฯลฯ เป็นเงิน 1,700 บาท
-ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ เช่น สติ๊กเกอร์ ฯลฯ เป็นเงิน 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล