11734 : การศึกษารวบรวมองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาดอกกล้วยไม้(ดอกเอื้อง) ที่ปรากฏในพิธีกรรม ความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐาปกรณ์ เครือระยา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/12/2560 9:41:26
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
12/12/2560  ถึง  31/07/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ และห้องสมุดในสถาบันการศึกษาในภาคเหนือ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายอื่น แผนงาน กองทุนงบบริการวิชาการแก่ชุมชน
งาน บริการวิชาการแก่ชุมชน
กองทุน บริการวิชาการ
งบ เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ประจำปีงบประมาณ 2561
2561 100,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐาปกรณ์  เครือระยา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 5 การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 61-64MJU 5.1 การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 61MJU5.1.1 ระดับความสำเร็จของแผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.2 ส่งเสริมให้นักศึกษาและบุคลากร ได้สืบสานประเพณีวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2560] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA-60ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมโดยมุ่งเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืนและสังคมอุดมปัญญา
เป้าประสงค์ LA-60เป้าประสงค์ที่ 5.2 มีองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ที่บูรณาการกับการเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด LA 59-5.2 จำนวนโครงการทางศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านล้านนาที่หลากหลาย
กลยุทธ์ LA60-5-4 จัดกระบวนการเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการการเรียนการสอน การวิจัย และ/หรือบริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในวัฒนธรรมล้านนานั้น ดอกเอื้อง ถือเป็นดอกไม้ที่มีความสำคัญ เพราะเป็นดอกไม้ที่เบ่งบานตามฤดูกาล ซึ่งดอกเอื้องบางชนิดสามารถใช้เป็นตัวกำหนดการจัดพิธีกรรมในล้านนาได้อีกด้วย เช่นพิธีกรรมฟ้อนผี จะต้องอยู่ในช่วงฤดูร้อน ในช่วงที่ดอกเอื้องผึ้งกำลังเบ่งบานและก็ต้องใช้ดอกเอื้องผึ้งในพิธีกรรมนี้ด้วย หรือการทำเครื่องสักการะล้านนาในงานพิธีสำคัญๆ พิธีกรรมอบรมสมโภชน์ จะนิยมทำเครื่องสักการะซึ่งหนึ่งในนั้นจะเป็นต้นผึ้ง และใช้ขี้ผึ้งปั้นเป็นดอกเอื้องผึ้ง เป็นต้น ซึ่งทำให้เราเห็นว่าพิธีกรรมต่างๆ ในวัฒนธรรมล้านนานั้น ถ้ามองและศึกษาในเชิงลึก จะพบว่าดอกเอื้องล้านนามีบทบาทและมีความสำคัญที่มีความเกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมล้านนา นอกจากนั้นยังเป็นรูปแบบที่ทำให้ก่อเกิดงานศิลปะและศิลปกรรมในพุทธศาสนามากมาย ทั้งในส่วนของลวดลาย ในส่วนของงานหัตถกรรมที่รองรับกับการฟ้อนรำ และในส่วนของบทเทศน์มหาชาติสำนวนล้านนา องค์ความรู้และสิ่งต่างๆเหล่านี้ ถือได้ว่ามีความน่าสนใจมากในด้านของความหมาย ที่มาที่ไปของวัฒนธรรม ความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อและรูปแบบที่ก่อให้เกิดงานศิลปกรรมประยุกต์ โดยทั้งหมดนี้ถูกซ่อนและยังไม่ได้ถูกนำมาศึกษาและเผยแพร่ให้เห็นอย่างชัดเจน ซึ่งองค์ความรู้บางอย่างอาจจะเลือนหายไปตามกาลเวลา การใช้ดอกเอื้องในพิธีกรรมนั้นอาจคงกลายเป็นเพียงแค่หนึ่งองค์ประกอบที่มีไว้ แต่ไร้ซึ่งที่มาและความหมายในพิธีกรรมนั้นๆ ซึ่งน่าเสียดายเป็นอย่างมากถ้าองค์ความรู้ที่จะได้รับจากการบอกเล่าของปราชญ์ชาวบ้านเหล่านั้น กำลังจะหมดหายไป ดังนั้นการศึกษารวบรวมองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาดอกกล้วยไม้(ดอกเอื้อง) ที่ปรากฏในพิธีกรรม ความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา จึงเป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสำคัญ ที่น่าจะได้รับการศึกษาอย่างเร่งด่วน ซึ่งจะได้เป็นการจัดเก็บรวบรวมองค์ความรู้ด้านความเชื่อและพิธีกรรมล้านนา ที่ดอกกล้วยไม้หรือดอกเอื้องล้านนาเป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความหมาย ซึ่งองค์ความรู้ดังกล่าวถือเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เราเข้าใจสังคมและวัฒนธรรมล้านนา ที่ใช้ธรรมชาติเป็นตัวกำหนดกฎเกณฑ์ในหลายๆเรื่อง ทั้งจะเป็นประโยชน์ในหลายๆด้าน ทั้งทางด้านงานศิลปกรรม ประเพณีความเชื่อ พิธีกรรม นาฏศิลป์ วรรณกรรมในพุทธศาสนา และด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งองค์ความรู้เหล่านี้ ถือเป็นความเชื่อที่เกิดขึ้นในสังคมล้านนา และสามารถพัฒนาองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาดังกล่าวออกมาในรูปแบบมรดกทางวัฒนธรรมล้านนาในอนาคตต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับดอกกล้วยไม้(ดอกเอื้อง) ที่ปรากฏในพิธีกรรม ความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : องค์ความรู้เกี่ยวกับดอกกล้วยไม้(ดอกเอื้อง) ที่ปรากฏในพิธีกรรม ความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา
KPI 1 : องค์ความรุ้ "ดอกกล้วยไม้ในพิธีกรรม"
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 1 เรื่อง 1
KPI 2 : นิทรรศการ "ดอกกล้วยไม้ในพิธีกรรม"
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 1 นิทรรศการ 1
KPI 3 : หนังสือ "ดอกเอื้อง ในพิธีกรรมความเชื่อวัฒนธรรมล้านนา" เพื่อการเผยแพร่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 200 เล่ม 200
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : องค์ความรู้เกี่ยวกับดอกกล้วยไม้(ดอกเอื้อง) ที่ปรากฏในพิธีกรรม ความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา
ชื่อกิจกรรม :
งานวิจัยเรื่อง การศึกษารวบรวมองค์ความรูด้านภูมิปัญญาดอกกลว้ยไม้ (ดอกเอื้อง) ที่ปรากฏในพิธีกรรมความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา
- เก็บข้อมูลด้านเอกสาร งานวิจัย และเก็บข้อมูลภาคสนาม
- เรียบเรียงและวิเคราะห์ข้อมูล
- รายงานสรุปผลการวิจัย (วันที่จัดกิจกรรม 01/1/2561 -
31/07/2561)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2561 - 31/07/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐาปกรณ์  เครือระยา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (1,000 บาท x
1 คน x 11 วัน) (ค่าเบี้ยเลี้ยง/ค่าที่พัก/ค่าพาหนะ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,000.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท 2,000.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดพิมพ์หนังสือพร้อมเข้าเล่ม (250
บาท x 200 เล่ม) สำหรับแจกจ่ายถึงองค์กรทางด้านวัฒนธรรม หน่วยงานมหาวิทยาลัย สำนักหอสมุด และหอสมุด ทั่วประเทศ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดพิมพ์รายงานวิจัยพร้อมเข้าเล่ม (300
บาท x 5 เล่ม) สำหรับส่งมอบให้หน่วยงานที่สนับสนุนทุนวิจัยและจัดกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าบริการไปรษณีย์ ค่าฝากส่งไปรษณีย์ ค่าดวงตราไปรษณีย์ ส่งหนังสือให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั่วประเทศ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 1,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 64100.00
ชื่อกิจกรรม :
จัดทำนิทรรศการ "ดอกกลว้ยไม้ (ดอกเอื้อง) ที่ปรากฏในพิธีกรรมความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา" จัดแสดงนิทรรศการ ณศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ ้ (วันที่จัดกิจกรรม 01/06/2561 - 31/07/2561)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/06/2561 - 31/07/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐาปกรณ์  เครือระยา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำนิทรรศการ บอร์ด ป้ายไวนิลโปสเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน วัสดุอื่นๆ ในการจัดและติดตั้งนิทรรศการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 36000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
การศึกษาและเก็บข้อมูลดอกกล้วยไม้(ดอกเอื้อง) ที่ปรากฏในพิธีกรรม ความเชื่อในวัฒนธรรมล้านนา
ช่วงเวลา : 01/12/2560 - 31/07/2561
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล