11309 : โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกอง (รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ปี ๒๕๔๙) ปริมาณมากจากผักตบชวา/ วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร”
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสาวเพชรณี ศรีมูล (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/10/2560 10:05:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  31/03/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักวิชาการเกษตร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ค่าลงทะเบียนการฝึกอบรม อบรมในสถานที่ของเอกชน รุ่นละ 1 วัน คนละ 2,000 บาท 2561 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. สมเกียรติ  จตุรงค์ล้ำเลิศ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนวัฒน์  นิทัศน์วิจิตร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.7 พัฒนาระบบบริหารงานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนเข้มแข็งตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
เป้าประสงค์ เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 1 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ขับเคลื่อนและสนับสนุนการให้บริการวิชาการเพื่อสังคม และชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาใหญ่ที่พบในลุ่มแม่น้ำสายต่าง ๆ ในประเทศไทยคือ ผักตบชวา เนื่องจากเป็นพืชที่ทนต่อสภาพแวดล้อม และขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว มีผลกระทบโดยตรงต่อระบบนิเวศทางน้ำ เกิดน้ำเน่าเสีย แหล่งน้ำตื้นเขิน ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตใต้น้ำ กีดขวางการไหลของน้ำทำให้น้ำท่วมขังในฤดูน้ำหลาก ที่ผ่านมามีการจัดการขุดลอกและกำจัดผักตบชวาในทุกปี แต่ยังไม่มีการนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับชุมชนและประชาชนที่แพร่หลาย มีเพียงความพยายามจัดการในบางพื้นที่และบางชุมชนเท่านั้น สถานบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีองค์ความรู้ในการนำผักตบชวามาผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ปริมาณมากแบบไม่กลับกอง โดยวิธีวิศวกรรมแม่โจ้ ๑ ที่ถูกคิดค้นโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร จนได้รับรางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพดีได้เสร็จภายในเวลาเพียง ๒ เดือน ผลิตได้ปริมาณครั้งละไม่ต่ำกว่า ๑๐ – ๑,๐๐๐ ตัน โดยมีวัตถุดิบเพียงผักตบชวาและมูลสัตว์ซึ่งไม่ต้องเติมสารอื่นใดเพิ่มเติม วิธีการผลิตง่ายไม่ซับซ้อน ไม่ส่งผลกระทบใดๆต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีกลิ่นและน้ำเสีย สามารถทำได้ทุกสถานที่ โดยไม่จำเป็นต้องมีพื้นคอนกรีตหรือโรงเรือนต่าง ๆ ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้มีคุณภาพดีตามมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ของประเทศ (กรมวิชาการเกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑) ชุมชนหรือหน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้ในการเพาะปลูกในวิถีเกษตรอินทรีย์เพื่อลดต้นทุน ลดการใช้ปุ๋ยเคมีของเกษตรกร เพิ่มศักยภาพการปลูกพืชผักและข้าวแบบอินทรีย์ในชุมชน อีกทั้งวิธีการนี้ยังสามารถนำเศษพืช วัชพืช วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ตลอดจนเศษวัสดุที่ได้จากอุตสาหกรรมการแปรรูปผลผลิตเกษตร เช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด และเปลือกผลไม้ ฯลฯ รวมทั้งเศษอาหารในครัวเรือนมาทำได้อีกด้วย ทำให้ถูกพัฒนาใช้รณรงค์ในโครงการชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) อีกทั้งยังสามารถช่วยลดปัญหาการเผาทำลายในชุมชนได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดฝึกอบรมให้กับตัวแทนหน่วยงานและตัวแทนชุมชน หรือผู้ที่สนใจทั่วไป สามารถนำผักตบชวามาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และนำปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ไปใช้ประโยชน์ในการปลูกพืช เสริมสร้างรายได้จากสิ่งที่ไม่มีมูลค่าให้กับชุมชน ลดต้นทุนการซื้อปุ๋ย ลดการใช้เคมี ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชาชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จัดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกอง (รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ปี 2549) ปริมาณมากจากผักตบชวา/วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 50คน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้ารับริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 75
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กร ที่รับบริการวิชาการ และวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 50
KPI 6 : ร้อยละของโครงการบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จัดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกอง (รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ปี 2549) ปริมาณมากจากผักตบชวา/วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 50คน
ชื่อกิจกรรม :
จัดฝึกอบรมเรื่อง การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง (รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ปี 2549) ปริมาณมากจากผักตบชวา/วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 50คน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 31/03/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ  จตุรงค์ล้ำเลิศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน สำหรับวิทยากร คณะทำงาน และผู้เข้าร่วมอบรม จัดในสถานที่เอกชน จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับวิทยากร คณะทำงาน และผู้เข้าร่วมอบรม จัดในสถานที่เอกชน จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 50 คน ๆ ละ
2 มื้อ มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
3. ค่าเช่าสถานที่/ค่าจัดสถานที่ จัดในสถานที่เอกชน จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 3,000 บาท
4. ค่าเช่าเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง สำหรับรับ-ส่งวิทยากรและคณะทำงานในการเดินทางไปจัดฝึกอบรมนอกสถานที่ (ต่างจังหวัด) จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 1 คัน
คันละ 3 วัน ๆ ละ 4,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
5. ค่าที่พัก สำหรับวิทยากร และคณะทำงาน จำนวน 1 รุ่น 3 ห้อง ๆ ละ 2 คืน ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 47,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร
1.1 วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ จำนวน 1 คน จำนวน 8 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
1.2 วิทยากรที่ไม่เป็นบุคลากรของรัฐ จำนวน 2 คน จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าเอกสารประกอบการฝึกอบรม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 50 คน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 6,000 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 6,000 บาท
4. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
1. ค่าไปรษณีย์ (ค่าดวงตราไปรษณียากร ค่าบริการไปรษณีย์) เป็นเงิน 4,000 บาท
2. หักค่าสาธารณูปโภค 10% เป็นเงิน 10,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
วิทยากรประจำอาจมีจำนวนไม่เพียงพอเนื่องจากมีภาระการสอนด้วย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เชิญวิทยากรบุคคลภายนอก
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล