11291 : การส่งเสริมการใช้งานระบบการให้น้ำการเกษตรแบบแม่นยำอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ราคาถูกสำหรับพื้นที่ปลูกพืชผักแบบแปลงยกร่อง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/4/2561 10:37:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1050  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักวิชาการเกษตร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักศึกษา นักเรียน หรือผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2561 9,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์  กาญจนประโชติ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61 MJU 4.2.7 ขับเคลื่อนและสนับสนุนการให้บริการวิชาการเพื่อสังคม และชุมชน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนเข้มแข็งตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
เป้าประสงค์ เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 1 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ขับเคลื่อนและสนับสนุนการให้บริการวิชาการเพื่อสังคม และชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัญหาด้านความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศกำลังมีผลกระทบโดยตรงกับการทำเกษตรกรรมในประเทศไทยและประเทศในภูมิภาคอาเซียนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นที่ผ่านมาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2558 ถึงกลางปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทย โดยเฉพาะเขตภาคเหนือตอนบน ประสบกับวิกฤตภัยแล้งส่งผลให้หลายพื้นที่ไม่สามารถทำการเกษตรได้และในพื้นที่ที่ทำการเกษตรได้ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตก็ลดลง โดยเฉพาะพืชผักที่มีระบบการเพาะปลูกแบบแปลงยกร่อง เช่น ข้าวโพดหวาน กระเทียม ผักใบ พริก หอมแดง หอมหัวใหญ่ พันธ์ไม้ตัดดอกต่างๆ เป็นต้น นโยบาย Thailand 4.0 ด้วยการขับเคลื่อนการทำการเกษตรด้วยนวัตกรรม เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบัน ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้องร่ำรวยขึ้น ด้วยการนำระบบการให้น้ำแบบแม่นยำด้วยเทคโนโลยีเซ็นเซอร์และการควบคุมอัตโนมัติ (Smart precision Irrigation) ตามความต้องการ การใช้น้ำของพืช ซึ่งจะทำให้ปริมาณการใช้น้ำเพื่อการเพาะปลูกลดลงมากกว่า 50% กล่าวคือระบบจะทำการตรวจวัดค่าปริมาณความชื้นในดินในแปลงเพาะปลูกแต่ละแปลงและส่งค่ามาประมวลผลตามหลักการวิชาการที่ระบบควบคุมอัตโนมัติ อุปกรณ์ระบบจะประมวลผลข้อมูลและทำการตัดสินใจในการสั่งเปิด-ปิด วาล์วน้ำหรือปั้มน้ำแบบอัตโนมัติเพื่อทำการจ่ายน้ำเข้าไปในพื้นที่แปลงนั้นๆจนกว่าค่าระดับความชื้นในดินจะเกินระดับความชื้นที่เป็นประโยชน์กับพืช (Available water) จากนั้นระบบควบคุมก็จะสั่งหยุดการให้น้ำ โดยอุปกรณ์ระบบตรวจวัดและควบคุมอัตโนมัตินี้สามารถนำไปติดตั้งในพื้นที่ภูมิประเทศได้ทุกสภาพและในพื้นที่ที่ไม่มีแหล่งพลังงานไฟฟ้าเข้าถึง เนื่องจากอุปกรณ์ต่างๆในระบบสามารถรับพลังงานจากจากระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ นอกจากนั้นในพื้นที่ที่อยู่นอกเขตชลประทานสามรรถทำการติดตั้งระบบอุปกรณ์ปั้มน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar pump) สำหรับสูบน้ำจากแหล่งน้ำใต้ดินขึ้นมาใช้ ซึ่งจะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำทำหรับการทำการเกษตรในเขตภาคเหนือตอนบนและส่งเสริมให้เกษตรกรปรับตัวเป็นเกษตรกรยุคใหม่หรือ Smart Famer มากขึ้น นอกจากนั้นตัวอุปกรณ์ยังสามารถบันทึกค่าปริมาณความชื้นและปริมาณการใช้น้ำในแต่ละพื้นที่ปลูกบนฐานข้อมูลดิจิตอลตลอดฤดูการเพาะปลูก โดยข้อมูลดังกล่าวสามารถนำมาช่วยวิเคราะห์วางแผนการเพาะปลูกในครั้งต่อไปเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการใช้น้ำอย่างสูงสุด ข้อมูลการใช้น้ำดังกล่าวสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการน้ำในอนาคต เป็นประโยชน์โดยตรงกับสำนักงานชลประทานจังหวัด เกษตรจังหวัด และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่ท้ายน้ำชลประทาน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมและให้ข้อแนะนำการใช้เทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพระบบการให้น้ำแก่เกษตรกรที่ปลูกพืชผักแบบแปลงยกร่อง
2.เพื่อเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อปีของการเพาะปลูกพืชผักชนิดต่างๆในแปลงพื้นที่โครงการสำหรับ ช่วยแนะนำข้อมูลการจัดกลุ่มพื้นที่ (Zoning) เพื่อทำการเกษตรที่เหมาะสมและช่วยแนะนำข้อมูลเพื่อบริหารจัดการน้ำเพื่อใช้ในการเกษตรให้เหมาะสมเพียงพอ
3.เพื่อเก็บข้อมูลปริมาณและคุณภาพผลผลิตพืชผักที่ใช้ระบบให้น้ำแบบแม่นยำ
4.ส่งเสริมให้เกษตรกรปรับตัวเป็นเกษตรกรยุคใหม่หรือ Smart Famer และผลักดันระบบการทำการเกษตรแบบ Smart Faming ให้แพร่หลาย ตลอดจนเพิ่มจำนวน Young Famers ในสายงานการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การส่งเสริมการใช้งานระบบการให้น้ำการเกษตรแบบแม่นยำอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ราคาถูกสำหรับพื้นที่ปลูกพืชผักแบบแปลงยกร่อง
KPI 1 : 1. จำนวนพื้นที่การเพาะปลูกพืชไร่พืชผักที่ใช้ระบบให้น้ำแบบแม่นยำอัตโนมัติ (Smart precision Irrigation)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ไร่ 800
KPI 2 : 2. เครือข่ายเกษตรกรที่ลงทะเบียนเป็น Smat Farmer
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 เครือข่าย 1
KPI 3 : 3 แก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำสำหรับเกษตรกร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ไร่ 500
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การส่งเสริมการใช้งานระบบการให้น้ำการเกษตรแบบแม่นยำอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ราคาถูกสำหรับพื้นที่ปลูกพืชผักแบบแปลงยกร่อง
ชื่อกิจกรรม :
การบริหารจัดการส่วนกลาง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่บริหารงานโครงการจำนวน 1 คน ๆ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน (1. จ้างในโครงการ 7 เดือน 2. สำนักงานเลขานุการ 2 เดือน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงานสนับสนุนการดำเนินการจัดทำเอกสารและการจัดฝึกอบรมโครงการจำนวน 1 คน ๆ 12,000 บาท จำนวน 9 เดือน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 108,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 250,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 200,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 219,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 493,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าใบประกาศนียบัตร จำนวน 1,200 แผ่น
- ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 1,050 แผ่น ๆ ละ 10 บาท = 10,500 บาท
- ผู้เข้าร่วมเสวนาและขึ้นทะเบียน smart farmer จำนวน 150 แผ่น ๆ ละ 20 บาท = 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,500.00 บาท 0.00 บาท 13,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1419600.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 1
2.1จัดอบรมเพื่อให้ความรู้และแนะนำระบบการให้น้ำแบบแม่นยำอัตโนมัติแก่กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักในจังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนสร้างเครือข่าย Smart Famer ของจังหวังเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร จำนวน 170 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ 150 บาท จำนวน 14 วัน = 714,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 714,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 170 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 14 วัน = 166,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 166,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 2 วัน ๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 14 วัน = 67,200
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 67,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าพาหนะวิทยากร จำนวน 4 คน ๆ ละ 600 บาท จำนวน 7 ครั้ง = 16,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาติดตั้งชุดอุปกรณ์ Sensors node สำหรับวัดค่าความชื่นในดินด้วยวิธีการ resistant ชนิดติดตั้งกลางแจ้ง จำนวน 14 วัน ๆ ละ 6,000 บาท = 84,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 84,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาติดตั้งชุดอุปกรณ์ควบคุมการจ่ายน้ำเพื่อการเกษตรแบบแม่นยำ จำนวน 14 วัน ๆ 7,000 บาท = 98,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 98,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้ จำนวน 7 คัน ๆ 2,500 บาท จำนวน 14 วัน = 245,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 245,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถบัส จำนวน 2 คัน ๆ 13,400 บาท จำนวน 14 วัน = 375,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 375,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร
-ค่าตอบแทนวิทยากรบุคลากรของรัฐ
ภาคบรรยาย จำนวน 12 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 7 ครั้ง =50,400 บาท
ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 7 ครั้ง =8,400 บาท


ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 58,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากรไม่ใช่บุคลากรของรัฐ ภาคปฎิบัติ จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 7 ครั้ง = 29,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 29,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสารในการประชุม จำนวน 1,200 ชุด ๆ ละ 70 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 84,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1939000.00
ชื่อกิจกรรม :
2.2 เสวนาและรับลงทะเบียน Smart farmer จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อคัดเลือกเกษตรกรจากกลุ่มเครือข่ายสำหรับสร้างเป็นแปลงเกษตร Smart irrigation นำร่อง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร จำนวน 170 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ 150 บาท จำนวน 2 วัน = 102,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 102,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 170 คน ๆ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 วัน = 23,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 23,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากร บุคลากรของรัฐ ภาคบรรยาย จำนวน 23 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท = 13,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากร ไม่ใช่บุคลากรของรัฐ ภาคปฏิบัติ จำนวน 12 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท = 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสารในการประชุม จำนวน 180 ชุด ๆ ละ 70 บาท = 12,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 159400.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 2 ติดตั้งระบบอุปกรณ์ให้น้ำแบบแม่นยำอัตโนมัติในแปลงเกษตร Smart Irrigation นำร่อง ให้ครบตามเป้าหมาย
- สร้างแปลงเกษตรSmart Irrigation นำร่อง พร้อมทั้งติดตั้งระบบอุปกรณ์ให้น้ำแบบแม่นยำอัตโนมัติในแปลงเกษตรSmart Irrigation จำนวน 800 ไร่ ให้เกษตรกรจากกลุ่มเครือข่ายที่ได้รับการคัดเลือก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่า อุปกรณ์ Sensors node สำหรับวัดค่าความชื้นในดินด้วยวิธการ resistant ชนิดติดตั้งกลางแจ้ง สำหรับกลุ่มเกษตรกรที่เพาะปลูกพืชแบบแปลงยกร่อง ในพื้นที่ 9 อำเภอประกอบด้วย อำเภอเชียงดาว อำเภอแม่แตง อำเภอแม่ริม อำเภอสันทราย อำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสารภี อำเภอแม่วาง อำเภอสะเมิง และอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 800 ชุด ๆ ละ 233 บาท ระยะเวลา 9 เดือน = 1,677,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,677,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าและค่าติดตั้งชุดอุปกรณ์ระบบควบคุมการจ่ายน้ำเพื่อการเกษตรแบบแม่นยำ สำหรับกลุ่มเกษตรกรที่เพาะปลูกพืชแบบแปลงยกร่อง ในพื้นที่ 9 อำเภอประกอบด้วย อำเภอเชียงดาว อำเภอแม่แตง อำเภอแม่ริม อำเภอสันทราย อำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสารภี อำเภอแม่วาง อำเภอสะเมิง และอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 300 ชุด ๆ ละ 689 บาท จำนวน 9 เดือน = 1,860,300
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,860,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าและค่าติดตั้งชุดอุปกรณ์บันทึกผลค่าปริมาณความชื้นในแปลงเกษตรแบบแม่นยำ สำหรับกลุ่มเกษตรกรที่เพาะปลูกพืชแบบแปลงยกร่อง ในพื้นที่ 9 อำเภอประกอบด้วย อำเภอเชียงดาว อำเภอแม่แตง อำเภอแม่ริม อำเภอสันทราย อำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสารภี อำเภอแม่วาง อำเภอสะเมิง และอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 800 ชุด ๆ ละ 168 บาท จำนวน 9 เดือน = 1,209,600
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,209,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประสานงานในพื้นที่และติดตามงานการติดตั้งและทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ระบบในพื้นที่ 9 อำเภอ = 70,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจและประเมินศักยภาพพื้นที่ใน 9 อำเภอ จำนวน 270 วัน ๆ ละ 1,264.81 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 341,500.00 บาท 0.00 บาท 341,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5159000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 วิเคราะห์การดำเนินงานโครงการ
- วางแผนและดำเนินงานติดต่อประสานงานหน่วยงานของรัฐบาลและกลุ่มเกษตรกรเพื่อสร้างเครือข่ายเกษตร Smart Farmer ตลอดจนดำเนินการ จัดหาพื้นที่เป้าหมายในโครงการที่ 2 และดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อตอบสนอง ทั้งสามผลผลิตและสามตัวชี้วัดในโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจพื้นที่เพาะปลูกพืชที่ใช้ระบบการให้น้ำแบบแม่นยำอัตโนมัติ อำเภอเชียงดาว อำเภอแม่แตง อำเภอแม่ริม จำนวน 80 วัน ๆ ละ 1,300 บาท = 104,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 104,000.00 บาท 0.00 บาท 104,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจพื้นที่เพาะปลูกพืชที่ใช้ระบบการให้น้ำแบบแม่นยำอัตโนมัติ อำเภอสันทราย อำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสารภี จำนวน 80 วัน ๆ ละ 1,300 บาท = 104,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 104,000.00 บาท 0.00 บาท 104,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจพื้นที่เพาะปลูกพืชที่ใช้ระบบการให้น้ำแบบแม่นยำอัตโนมัติ อำเภอแม่วาง อำเภอสะเมิง อำเภอดอยหล่อ จำนวน 80 วัน ๆ ละ 1,250 บาท = 100,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 323000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล