10964 : โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแก่นและเครือข่ายศิษย์เก่าแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นายวิทชัย สุขเพราะนา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/11/2560 11:30:12
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/06/2560  ถึง  30/09/2560
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  1.บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2.บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยขอนแก่น 3.ศิษย์เก่าแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน งบพัฒนานักศึกษา 2560 304,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย วิทชัย  สุขเพราะนา
น.ส. อรญาพัชร์  พิทักษ์วัฒนชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ชัช  พชรธรรมกุล
นาง สมพร  แรกชำนาญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2560 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 MJU 3 การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ 60MJU3.2 การพัฒนานักศึกษาให้เป็นพลเมืองของโลก และมีความสามารถ ในการเข่งขันได้
ตัวชี้วัด 60MJU3.11 ร้อยละโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักศึกษา/ศิษย์เก่าที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ 15 ปี
กลยุทธ์ 60MJU3.16 ผลักดันให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน Roadmap การพัฒนามหาวิทยาลัย (Organic – Green - Eco)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ดนตรี การแสดง และวัฒนธรรม ล้วนเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสของสังคม วัฒนธรรมมีการเคลื่อนไปตามยุคสมัย ประกอบกับรูปแบบการแสดงวัฒนธรรมมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น เทคนิคและกระบวนการล้วนแล้วแต่เปลี่ยนแปลงไป มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยของการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ มีงานด้านดนตรีศิลปวัฒนธรรมที่ถูกพัฒนาสืบทอดหลายหลาย เช่น การแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ ทั้งด้านดนตรีพื้นเมืองและนาฏศิลป์ วงดนตรีลูกทุ่งแม่โจ้แบนด์ วงดนตรีพื้นเมืองอีสาน (วงโปงลาง)และวงดนตรีแม่โจ้คันทรี่บอยส์(แบนโจแมน) เป็นต้น ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม จึงเห็นความสำคัญว่า งานด้านดนตรี ศิลปวัฒนธรรม ควรได้รับการส่งเสริม เปิดรับองค์ความรู้ใหม่ โดยเฉพาะนักศึกษาโควตาความสามารถพิเศษและนักศึกษาที่มีความสนใจในด้านดนตรี ศิลปวัฒนธรรม ควรได้รับการส่งเสริมต่อยอดเป็นอย่างยิ่ง จึงได้คิดโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมระหว่างมหาวิทยาลัย และเครือข่ายศิษย์เก่าแม่โจ้ ขึ้นมา เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้ เรียนรู้ พัฒนา จากสถาบันที่มีการเรียนการสอนในด้านดนตรีและศิลปวัฒนธรรม และมีผลงานเป็นที่ยอมรับของสังคม โดยได้มองเห็นว่า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยขอนแก่น สมควรเป็นแหล่งเรียนรู้ของเราได้เป็นอย่างดี ประกอบกับ การสร้างความสัมพันธ์ของศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน ให้เกิดคุณค่าทางจิตใจ กระซับความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้อง ตามอัตลักษณ์ของลูกแม่โจ้ที่แท้จริง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะตลอดจนฝึกฝนความรู้ความชำนาญด้านดนตรีและศิลปวัฒนธรรม
2.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการอุดมศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรม
3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างมหาวิทยาลัยและศิษย์เก่าแม่โจ้
4.เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคเหนือ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล