10493 : โครงการรักษ์ ณ อินทนิล
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2560
น.ส.กัลย์ชิสา นามวงศ์พรหม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/5/2560 11:21:41
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/06/2560  ถึง  07/06/2560
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร จำนวน 100 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้จากเงินพัฒนานักศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2560 แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง:แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป(ด้านวิทย์) แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามภารกิจพัฒนางานเดิม (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3) ประเด็นยุทธศาสตร์คณะผลิตฯ ที่ 1 ผลิตบัณฑิตทางด้านการเกษตรที่มีคุณภาพ มีทักษะ ความชำนาญด้านวิชาชีพ ใฝ่รู้ สู้งาน มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคมและในระดับนานาชาติ 2560 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. กอบลาภ  อารีศรีสม
น.ส. กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองชัย  จูวัฒนสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2560 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 MJU 3 การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ 60MJU3.2 การพัฒนานักศึกษาให้เป็นพลเมืองของโลก และมีความสามารถ ในการเข่งขันได้
ตัวชี้วัด 60MJU3.09 ความสำเร็จในการพัฒนาบัณฑิตให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์
กลยุทธ์ 60MJU3.11 ส่งเสริมแนวทางการจัดกิจกรรมนักศึกษาที่มีการบ่มเพาะจิตสำนึกอันดีในความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นปัญญาอาสา จิตอาสา แก้ไขปัญหาชุมชนและลงมือปฏิบัติจริง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2560] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 ผก. 4 ส่งเสริม สืบสาน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 60 ผก.4.1 สืบสาน ให้มีการคงอยู่ของด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษา ตระหนัก เข้าใจ มีความรู้ ด้านสืบสานศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 60 ผก. 4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการรักษ์ ณ อินทนิล เกิดจากแนวคิดที่ว่า ต้นอินทนิล Lagerstroemia macrocarpa Wall เป็นอีกสัญญาลักษณ์หนึ่งของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดังประวัติเกี่ยวกับการเลือกพันธ์ไม้นี้เป็นสัญญาลักษณ์ของมหาวิทยาลัย อันเนื่องมาจากแม่โจ้"มหาวิทยาลัยแม่โจ้" มี อายุครบ 50 ปี ในเดือนมิถุนายน 2527 คณะกรรมการศิษย์เก่าแม่โจ้และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย โดย นายจำนงค์ โพธิสาโร (แม่โจ้ รุ่น 10) อธิบดีกรมป่าไม้สมัยนั้น อุปนายกสมาคมศิษย์เก่าแม่โจ้ เป็นประธาน ได้เสนอชื่อพรรณไม้ที่ทนต่อสภาพแวดล้อมและเจริญเติบโตในทุกภาคของประเทศไทย เป็นพันธ์ลักษณะที่ดี มีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรือง อายุยืนนานใบสีเขียวเข้ม ลักษณะใบเดี่ยว ดอกสีม่วง ม่วงชมพู มีฉายานามว่าเป็น "ราชินีดอกไม้"( Queen's Flower ) ฝักผลไม่ยอมทิ้งต้น มีสายพันธ์อีกหลายชนิดในวงค์เดียว มีดอกเป็นลักษณะQeen's crape myrtle เช่น ตะแบก, เสลา และยี่เข่ง เป็น Qrape myrtle เหมือนกัน คณะกรรมการได้ลงมติเลือกชื่อพรรณไม้ "อินทนิล" นี้เป็นมงคลนามต่อมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีความหมายถึงความผูกพันกับมหาวิทยาลัย อินทนิล มีลักษณะของช่อดอกเกาะกันเป็นกลุ่มแน่น สีสวยสด เหมือนความรัก ความสามัคคี เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ความผูกพันอยู่กับมหาวิทยาลัยของศิษย์เก่าตลอดเวลาที่ออกไปประกอบอาชีพอยู่ทุกหนทุกแห่ง อินทนิล หรือไม้ในวงค์นี้ เป็นไม้เศรษฐกิจ เนื้อแข็งปานกลางจนถึงแข็ง ใช้เป็นไม้ประดับให้ร่มเงา ดอกสีสวยสดงดงาม ตลอดทั้งเปลือก ต้น ใบ ใช้เป็นยาสมุนไพร ดั่งคุณค่าของบรรดาศิษย์เก่าแม่โจ้ ที่ได้สร้างประโยชน์ให้กับสังคมประเทศชาติเป็นระยะเวลาอันยาวนานกว่า 80 ปี ดังนั้น สโมสรนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร ได้เห็นความสำคัญของต้นไม้ชนิดนี้ จึงได้จัดกิจกรรมแก่น้องใหม่และนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ในโครงการ “รักษ์ ณ อินทนิล” ขึ้น โดยการเก็บขยะมูลฝอย เก็บกวาดเศษกิ่งไม้ - ใบไม้ แผ้วถางวัชพืชต่างๆ ให้พื้นที่ให้มีความสะอาดน่ามอง และร่วมบำรุง ดูแล รักษา ต้นอินทนิล ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ปลูกเป็นสง่าและสร้างความร่มเย็น สวยงาม โดยเฉพาะช่วงดอกอินทนิลได้เบ่งบานออกมา มีสีม่วงอ่อนบานสะพังให้เห็นตามถนนเส้น แม่โจ้-พร้าว เป็นการนำทางสู่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านการเกษตรของไทย นั่นคือมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และอีกทั้งต้นอินทนิลที่เบ่งบานออกมาอย่างสวยงามก็เปรียบเสมือนลูกแม่โจ้ที่ เบ่งบานร่วมพัฒนาการเกษตรคู่กับเกษตรกรไทยไปทุกพื้นที่ของประเทศไทย ดังคำที่กล่าวว่า “เกษตรกรคือกระดูกสันหลังของชาติ” ซึ่งกิจกรรมต่างๆเหล่านี้นักศึกษาจะได้พัฒนาทักษะต่างๆ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) ดังนี้ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านการเสียสละและมีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น เคารพสิทธิของผู้อื่นโดยคำนึงถึงความเสมอภาค 2 ) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ นักศึกษาได้ฝึกการปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยอยู่บนพื้นฐานของการนับถือ ความแตกต่างและคุณค่าของความหลากหลาย มีภาวะการเป็นผู้นำ ช่วยเหลือผู้อื่นและแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 3) ด้านการสื่อสาร โดยสามารถเลือกใช้ทักษะทางภาษาและรูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในระดับปัจเจกและองค์การ
เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาได้มีจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา และมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับชุมชน รอบ ม.แม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้มีจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม ได้มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในระดับปัจเจกและองค์การ ได้สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา และมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับชุมชน รอบ ม.แม่โจ้
KPI 1 : ระดับที่นักศึกษามีจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.5
KPI 2 : ระดับที่นักศึกษาได้สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา และ มหาวิทยาลัยแม่โจ้กับชุมชนรอบ ม.แม่โจ้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.5
KPI 3 : ระดับที่นักศึกษามีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในระดับปัจเจกและองค์การ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.5
KPI 4 : ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้มีจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม ได้มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในระดับปัจเจกและองค์การ ได้สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา และมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับชุมชน รอบ ม.แม่โจ้
ชื่อกิจกรรม :
(เงินรายได้จากเงินพัฒนานักศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2560) อาสาพัฒนาชุมชนบริเวณใกล้เคียง ม.แม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/06/2560 - 07/06/2560
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.กัลย์ชิสา  นามวงศ์พรหม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.กอบลาภ  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.กมลลักษณ์  มณีเกี๋ยง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารนักศึกษา จำนวน 100 คน คนละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล