10476 : โครงการนักศึกษาใหม่เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น(หลักสูตรปฐพีศาสตร์)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2560
น.ส.สุลาวัลย์ อาทิตย์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/1/2560 10:32:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2560  ถึง  15/02/2560
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 อาจารย์, บุคลากร และนักศึกษาชั้นปีอื่นๆ รวมถึงผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ประจำปี พ.ศ.2560 หลักสูตรปริญญาตรี สาขาปฐพีศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน ผลผลิต : ผลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมหลัก ส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แผนงาน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กองทุนอื่น กองทุนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป (ประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยที่ 6) 2560 6,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปฏิภาณ  สุทธิกุลบุตร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2560 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 MJU 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
เป้าประสงค์ 60MJU6.1 การดำรงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 60MJU6.01 ความสำเร็จของแผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์ 60MJU6.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและนักศึกษา มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2560] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 ผก. 4 ส่งเสริม สืบสาน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 60 ผก.4.1 สืบสาน ให้มีการคงอยู่ของด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 จำนวนหลักสูตรที่นำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมไปบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอน
กลยุทธ์ 60 ผก.4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษา ตระหนัก เข้าใจ มีความรู้ ด้านสืบสานศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 60 ผก. 4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 60 ผก.4.1 สืบสาน ให้มีการคงอยู่ของด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 จำนวนหลักสูตรที่นำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมไปบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอน
กลยุทธ์ 60 ผก.4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษา ตระหนัก เข้าใจ มีความรู้ ด้านสืบสานศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 60 ผก. 4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
[2560] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 ผก. 4 ส่งเสริม สืบสาน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 60 ผก.4.1 สืบสาน ให้มีการคงอยู่ของด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 จำนวนหลักสูตรที่นำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมไปบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอน
กลยุทธ์ 60 ผก.4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษา ตระหนัก เข้าใจ มีความรู้ ด้านสืบสานศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 60 ผก. 4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 60 ผก.4.1 สืบสาน ให้มีการคงอยู่ของด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 จำนวนหลักสูตรที่นำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมไปบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอน
กลยุทธ์ 60 ผก.4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 60 ผก.4.1 ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษา ตระหนัก เข้าใจ มีความรู้ ด้านสืบสานศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 60 ผก. 4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

“ข้าว” เป็นอาหารหลักของชาวไทย อีกทั้งยังเป็นอาชีพหลัก และเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของเกษตรกรไทย อาชีพการทำนาข้าวยังได้สืบทอดการทำนาเพื่อปลูกข้าวมาแต่ครั้งโบราณจนกระทั่งถึงปัจจุบัน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาปฐพีศาสตร์ จึงได้จัดโครงการเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เกี่ยวกับวิถีการปลูกข้าวแบบดั้งเดิม โดยมีเป้าหมายให้นักศึกษาผู้เป็นเยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้และเห็นคุณค่าของอาชีพเกษตรกรที่มีมายาวนาน ช่วยกันสืบสาน อนุรักษ์ไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันเป็นรากเหง้าของคนไทยได้คงอยู่ต่อไป และร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อีกทั้งยังเป็นกระบวนการจัดกิจกรรมที่ช่วยเสริมสร้างความยึดมั่นผูกพันกับความเป็นพลเมืองที่ดี ตามแนวทางการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาและผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้คุณค่าของวัฒนธรรมและกระบวนการผลิตทางการเกษตรของท้องถิ่น
เพื่อเป็นการธำรงรักษาไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมการกสิกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นในวิถีการปลูกข้าวแบบดั้งเดิม
เพื่อให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในพื้นที่จริงในการทำเกษตรเชิงชีววิถี
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาใหม่ได้เรียนรู้วิถีชาวนาท้องถิ่น
KPI 1 : นักศึกษาใหม่ที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 50
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในพื้นที่จริงในการปลูกข้าวแบบดั้งเดิม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาใหม่ได้เรียนรู้วิถีชาวนาท้องถิ่น
ชื่อกิจกรรม :
นักศึกษาใหม่เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในวิถีปลูกข้าวของชาวนาแบบดั้งเดิม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/02/2560 - 08/02/2560
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.สุลาวัลย์  อาทิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฏิภาณ  สุทธิกุลบุตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ * 50 คน * 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ * 50 คน * 25 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ (ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงรถราชการ) จำนวน 2 คัน * 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุการเกษตร จำนวน 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล