โครงการส่งเสริมคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์สู่ความเป็นอาจารย์มืออาชีพ
ส่งเสริมการเพิ่มจำนวนผู้ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
วันที่เริ่มต้น 15/11/2563 เวลา 13:00 วันที่สิ้นสุด 15/11/2563 เวลา 20:30
สถานที่จัด ห้องข้าวหอมมะลิ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
เมธา วรรณพัฒน์
ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์
อุทัยรัตน์ ณ นคร
โยธิน แสวงดี
สุจินต์ จินายน
เกตุ กรุดพันธ์
สุรินทร์ พงศ์ศุภสมิทธิ์
ชนกันต์ จิตมนัส คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
นิสรา กิจเจริญ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
จงกล พรมยะ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ดวงพร อมรเลิศพิศาล คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
อัชญา ไพคำนาม คณะบริหารธุรกิจ
ศฐา วรุณกูล คณะบริหารธุรกิจ
ปกรณ์ อุดมธนะสารสกุล คณะบริหารธุรกิจ
ศิริกุล ตุลาสมบัติ คณะบริหารธุรกิจ
ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์ คณะบริหารธุรกิจ
ณัฐดนัย เขียววาท คณะบริหารธุรกิจ
อรุณี ยศบุตร คณะบริหารธุรกิจ
อดิศร สิทธิเวช คณะบริหารธุรกิจ
กีรติ ตระการศิริวานิช คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
พิรุฬห์พัฒน์ ภู่น้อย คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ภูสิต ปุกมณี คณะวิทยาศาสตร์
รัชดาภรณ์ ปันทะรส คณะวิทยาศาสตร์
ศิริรัตน์ ไพศาลสุทธิชล คณะวิทยาศาสตร์
เพชรลดา กันทาดี คณะวิทยาศาสตร์
บุรัสกร นันทดิลก คณะวิทยาศาสตร์
กมลเทพ มีคำ คณะวิทยาศาสตร์
สิตา ชากฤษณ์ คณะวิทยาศาสตร์
ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์
ชัยวัฒน์ โฆษภัทรพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์
รัชนีวรรณ วงศ์พระจันทร์ คณะวิทยาศาสตร์
สายัณห์ อุ่นนันกาศ คณะวิทยาศาสตร์
เรวดี วงศ์มณีรุ่ง คณะวิทยาศาสตร์
ปราณรวีร์ สุขันธ์ คณะวิทยาศาสตร์
ชูพงษ์ ภาคภูมิ คณะวิทยาศาสตร์
ไพโรจน์ วงศ์พุทธิสิน คณะวิทยาศาสตร์
มยุรา ศรีกัลยานุกูล คณะวิทยาศาสตร์
แสงทอง พงษ์เจริญกิต คณะวิทยาศาสตร์
ยุพเยาว์ คบพิมาย คณะวิทยาศาสตร์
วิรันธชา เครือฟู คณะวิทยาศาสตร์
สุภาพร ดาวทอง คณะวิทยาศาสตร์
อนรรฆอร ศรีไสยเพชร คณะวิทยาศาสตร์
หยาดฝน ทนงการกิจ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
วรวรรณ เพชรอุไร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
พิไลวรรณ พรประสิทธิ์ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
จตุรภัทร วาฤทธิ์ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
วิวัฒน์ หวังเจริญ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
กนกวรรณ ตาลดี คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ชนาพร ขันธบุตร คณะศิลปศาสตร์
อาภาลัย สุขสำราญ คณะศิลปศาสตร์
สุนทร คำยอด คณะศิลปศาสตร์
สุภาพร มโนวงศ์ คณะศิลปศาสตร์
อุดมศักดิ์ ศิริทะ คณะศิลปศาสตร์
จิราภรณ์ ศรีนาค คณะศิลปศาสตร์
สุรชัย ศรีนรจันทร์ คณะศิลปศาสตร์
เมธี วงศ์วีระพันธุ์ คณะศิลปศาสตร์
สุรชัย กังวล คณะเศรษฐศาสตร์
ทำเนียบ อุฬารกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
วิทยา ดวงธิมา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
นิกร มหาวัน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ธิดารักษ์ รัตนมณี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม งานนโยบาย แผน และประกันคุณภาพ
ประภากร ธาราฉาย คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
มงคล ยะไชย คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
วีระพล ทองมา มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
จักรพงศ์ ผู้วิจารณ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ งานบริหารและธุรการ
วินิตรา ลีละพัฒนา วิทยาลัยนานาชาติ
เจตฑถ์ ดวงสงค์ถ์ วิทยาลัยบริหารศาสตร์
นารีวรรณ กลิ่นรัตน์ วิทยาลัยบริหารศาสตร์
รุจาดล นันทชารักษ์ วิทยาลัยบริหารศาสตร์
พิชญ์ จิตต์ภักดี วิทยาลัยบริหารศาสตร์
อัจฉรา บุญเกิด สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ กองบริหารงานสำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ งานบริหารและธุรการ

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
ไม่มีข้อมูล
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผลการเรียน (OBE : Outcomes Based Learning) เป็นกลยุทธ์ที่ได้รับการยอมรับว่าสามารถตอบสนองแนวทางการพัฒนาหลักสูตรได้เป็นอย่างดี การที่หลักสูตรจะสามารถการรับรองคุณภาพให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรในปัจจุบัน แนวทางการจัดการเรียนการสอนเป็นสิ่งหนึ่งที่จะแสดงให้ผู้เรียน ผู้ประกอบการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเชื่อมั่นได้ว่าหลักสูตรที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์และแนวทางการประเมิน ซึ่งทุกฝ่ายสามารถรับรู้ได้จากคุณภาพบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในแต่ละปีการศึกษาในระยะสั้นสามารถรับรู้ได้ในเบื้องต้นจากการที่บัณฑิตได้งานตรงตามสาขาที่ตัวเองเรียนมา และในระยะยาวยังสามารถดูได้จากการที่บัณฑิตสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองก้าวสู่ตำแหน่งในสายวิชาชีพที่สูงขึ้นในการประกอบอาชีพของตนเอง
ดังนั้น การที่อาจารย์ผู้สอนจึงเปรียบเสมือนเครื่องมือที่สำคัญในการที่จะพัฒนาศักยภาพให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างความทันสมัย ใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งสามารถประยุกต์นำมาใช้ในการสอนเพื่อมุ่งสร้างบัณฑิตที่สามารถประกอบอาชีพทั้งในระดับชาติ และระดับนานาชาติ ได้รับการยอมรับรวมทั้งสามารถประกอบอาชีพ (Entrepreneurial Mindset) ตามสาขาที่ตนศึกษามาได้เป็นอย่างดี
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน การเสวนา
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม กิจกรรมด้านวิชาการ
ระดับ ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด 6  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 100 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   80 คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล