อาสาพัฒนาชุมชนและสังคม AP’s Hup Nong Freshy 89 ประจำปี 2567

วันที่เริ่มต้น 01/09/2567 เวลา 9:00 วันที่สิ้นสุด 07/09/2567 เวลา 21:00
สถานที่จัด ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้/ชุมชนรอบ ม.แม่โจ้ 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก คณะผลิตกรรมการเกษตร สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
6401102318   นางสาวคณัสนันท์   อินทวัน : พืชสวน (พืชผัก) 6ชั่วโมง
6401102361   นายธนพล   มหายศ : พืชสวน (พืชผัก) 6ชั่วโมง
6401102362   นางสาวธนภรณ์   หมอยา : พืชสวน (พืชผัก) 6ชั่วโมง
6401102417   นางสาวรัชฎาภรณ์   เมาวงษ์ : พืชสวน (พืชผัก) 6ชั่วโมง
6401102440   นางสาวสมจิตร   แข็งแรง : พืชสวน (พืชผัก) 6ชั่วโมง
6401102441   นายสรวิศ   สมอหมอบ : พืชสวน (พืชผัก) 6ชั่วโมง
6501126330   นายจตุโชค   เสวกพันธ์ : อารักขาพืช 6ชั่วโมง
6501126345   นางสาวจีรนันท์   คงแก้ว : อารักขาพืช 6ชั่วโมง
6501126352   นายเจิดจรัส   แก้วศักดิ์ : ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการ 6ชั่วโมง
6501126363   นางสาวฐิติมา   เตจ๊ะ : อารักขาพืช 6ชั่วโมง
6501126390   นางสาวธนพร   วังงอน : อารักขาพืช 6ชั่วโมง
6501126421   นางสาวนันธินา   โกวฤทธิ์ : อารักขาพืช 6ชั่วโมง
6601122035   นายสุธี   ทองพิจิตร : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601122047   นางสาวศุภสุตา   สิงห์ธนศักดิ์ : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125302   นายกิตติคุณ   ตากิ่มนอก : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125303   นายเกริกชัย   อินทรภักดี : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125304   นายเกษมรัฐ   เสนนะ : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125305   นายชนะชัย   สุภเสน : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125311   นางสาวธัญญาพร   ศรีชัย : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125312   นายนฤเศรษฐ์   วีระวัฒน์พงษ์ไพร : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125315   นายนิธิศ   ว่องไว : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125319   นายพศิน   จอมเม็ด : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125320   นายพิพัฒพงศ์   มูลตะกอน : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125324   นางสาววลัยลักษณ์   กาญจนรัตน์ : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125327   นายสุประดิษฐ์   วงศ์อยู่ : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125332   นายกิตติพัฒน์   ยารังษี : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125340   นายสุกัลย์   ทองสุข : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125342   นางสาวอติกานต์   ประจำเมือง : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125344   นายตฤณ   รวยพงษ์ : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601125345   นายศิริชัย   แจ้งเสมอ : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6601127302   นางสาวกนกทิพย์   บุญญานันท์ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127386   นางสาวณัฐณิชา   ทองทัก : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127390   นายณัฐพงศ์   ลีอุดมสมบูรณ์ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127431   นายธรณินทร์   สียางนอก : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127455   นายนิติกร   ศรีอินทร์ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127456   นายนิติภูมิ   มีมา : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127457   นางสาวนิทัยรัตน์   กลิ่นมาลา : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127469   นางสาวปพิชญา   เขียวละออ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127471   นางสาวปภาวรินท์   คำเพชร : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127475   นายปวริศร์   สุขวิเศษ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127476   นางสาวปสุตา   โพธิ์คะ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127477   นางสาวปัญญาพร   ใยฤทธิ์ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127517   นายภูวเนธ   กอมะณี : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127543   นางสาววรกมล   ศรีสุภาพ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127556   นางสาววิชญาดา   ก๋าเร็ว : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127570   นางสาวศุภากร   โนกุล : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127576   นายสหรัฐ   เบญจศรีวัฒนา : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127587   นางสาวสุธิษา   ใจหาญ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127589   นางสาวสุภัทรา   ตันตา : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127597   นางสาวอภิชญา   โนโชติ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6601127599   นางสาวอภิรดี   ทิพย์วิมานชัย : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6701125322   นายพฤกษา   แฝดกลาง : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6701125347   นางสาวติชิลา   ศิวินา : การส่งเสริมและสื่อสารเกษตร 6ชั่วโมง
6701127398   นายธนาคาร   เชิงเร็ว : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6701127547   นายอชิระ   เมืองมนต์ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
6701127586   นางสาวณัฏฐณิชา   ศรีดวงใจ : เกษตรศาสตร์ 6ชั่วโมง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีนักศึกษาเข้ามาเรียนจากทุกภูมิภาคของประเทศไทย ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม ต่างประสบการณ์และวิถีชีวิต โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 4 อายุระหว่าง 17 -23 ปี เป็นวัยที่พร้อมจะเรียนรู้ เพื่อเข้าใจและจัดการตัวเองให้สามารถคิดต่อยอดแนวความคิดดีๆ ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ให้เข้ากับบริบททางสังคม ณ ปัจจุบันที่นักศึกษาใช้ชีวิตอยู่
โครงการค่ายพัฒนาชุมชนและสังคม ประจำปี 2567 จะจัดขึ้่นเพื่อมุ่งหวังจะนำนักศึกษาที่มาจากต่างจังหวัดและนักศึกษาที่อาศัยอยู่ภาคเหนือ แต่ยังไม่มีโอกาสได้ทำความเข้าใจด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม สามารถเรียนรู้และเข้าใจวิถีชุมชนและสังคมได้อย่างลึกซึ้งมากขึ้น อันได้แก่ ฐานคิดของคนในชุมชน รูปแบบของความเชื่อ วิธีปฏิบัติตน การกินอยู่หลับนอน กล้าพันธุ์ต้นไม้ต่างๆ ตามวิถีเกษตรล้านนาภูมิปัญญาท้องถิ่น อีกทั้งโครงการนี้มีการบูรณาการสอดคล้องกับแนวคิดของแผนงานด้านวัฒนธรรมของคณะผลิตกรรมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 และมีการประยุกต์กระบวนการทำงานให้มีคุณภาพ PDCA ในการวางแผนจัดกิจกรรม โดยทีมงานจากสโมสรนักศึกษาและชมรมนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร ถือเป็นการบูรณาการด้านวัฒนธรรมกับการจัดกิจกรรมพัุฒนานักศึกษาให้ได้รับประสบการณ์จากการประชุมงาน ติดต่อหน่วยงาน ประสานงานต่างๆเพื่อให้สามารถจัดโครงการได้ ถือเป็นการพัฒนาศักยภาพ (UpSkill) ให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการจัดโครงการ ผลสมฤทธิ์ของโครงการที่ตั้งไว้จะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการเป็น "มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน "
รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาชุมชนและสังคม
1. นำนักศึกษาศึกษาดูงานฟาร์มเกษตรภูมิปัญญาท้องถิ่นและซื้อกล้าดอกไม้ กล้วยไม้ไทยสายพันธุ์ต่างๆ จากหน่วยงานกิจการพิเศษ คณะผลิตกรรมการเกษตร นำไปเพาะขยายพันธุ์ปรับภูมิทัศน์ให้ชุมชนที่ต้องการ พร้อมทั้งอาสาพัฒนาตามความต้องการของชุมชน
2. จัดกิจกรรมการประกวดทูตกิจกรรมคณะผลิตกรรมการเกษตร เน้นแนวคิดของการเป็นคนจิตอาสาพัฒนาชุมชนและสังคม การเป็นผู้ส่งเสริมเกษตรกรและผู้ประกอบการในท้องถิ่นให้สามารถพัฒนาภูมิปัญญาเป็นรายได้ ผนวกกับแนวคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด 6  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 572 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   600 คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีนักศึกษาเข้ามาเรียนจากทุกภูมิภาคของประเทศไทย ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม ต่างประสบการณ์และวิถีชีวิต โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 4 อายุระหว่าง 17 -23 ปี เป็นวัยที่พร้อมจะเรียนรู้ เพื่อเข้าใจและจัดการตัวเองให้สามารถคิดต่อยอดแนวความคิดดีๆ ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ให้เข้ากับบริบททางสังคม ณ ปัจจุบันที่นักศึกษาใช้ชีวิตอยู่
โครงการค่ายพัฒนาชุมชนและสังคม ประจำปี 2567 จะจัดขึ้่นเพื่อมุ่งหวังจะนำนักศึกษาที่มาจากต่างจังหวัดและนักศึกษาที่อาศัยอยู่ภาคเหนือ แต่ยังไม่มีโอกาสได้ทำความเข้าใจด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม สามารถเรียนรู้และเข้าใจวิถีชุมชนและสังคมได้อย่างลึกซึ้งมากขึ้น อันได้แก่ ฐานคิดของคนในชุมชน รูปแบบของความเชื่อ วิธีปฏิบัติตน การกินอยู่หลับนอน กล้าพันธุ์ต้นไม้ต่างๆ ตามวิถีเกษตรล้านนาภูมิปัญญาท้องถิ่น อีกทั้งโครงการนี้มีการบูรณาการสอดคล้องกับแนวคิดของแผนงานด้านวัฒนธรรมของคณะผลิตกรรมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 และมีการประยุกต์กระบวนการทำงานให้มีคุณภาพ PDCA ในการวางแผนจัดกิจกรรม โดยทีมงานจากสโมสรนักศึกษาและชมรมนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร ถือเป็นการบูรณาการด้านวัฒนธรรมกับการจัดกิจกรรมพัุฒนานักศึกษาให้ได้รับประสบการณ์จากการประชุมงาน ติดต่อหน่วยงาน ประสานงานต่างๆเพื่อให้สามารถจัดโครงการได้ ถือเป็นการพัฒนาศักยภาพ (UpSkill) ให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการจัดโครงการ ผลสมฤทธิ์ของโครงการที่ตั้งไว้จะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการเป็น "มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน "
รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาชุมชนและสังคม
1. นำนักศึกษาศึกษาดูงานฟาร์มเกษตรภูมิปัญญาท้องถิ่นและซื้อกล้าดอกไม้ กล้วยไม้ไทยสายพันธุ์ต่างๆ จากหน่วยงานกิจการพิเศษ คณะผลิตกรรมการเกษตร นำไปเพาะขยายพันธุ์ปรับภูมิทัศน์ให้ชุมชนที่ต้องการ พร้อมทั้งอาสาพัฒนาตามความต้องการของชุมชน
2. จัดกิจกรรมการประกวดทูตกิจกรรมคณะผลิตกรรมการเกษตร เน้นแนวคิดของการเป็นคนจิตอาสาพัฒนาชุมชนและสังคม การเป็นผู้ส่งเสริมเกษตรกรและผู้ประกอบการในท้องถิ่นให้สามารถพัฒนาภูมิปัญญาเป็นรายได้ ผนวกกับแนวคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล