เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บุคลากร
พัฒนาบุคลากรและกิจกรรม
กิจกรรมที่6 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศสำหรับการเป็นผู้ประกอบการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รุ่นที่ 1
วันที่เริ่มต้น
13/11/2566
เวลา
0:00
วันที่สิ้นสุด
30/09/2567
เวลา
0:00
ทั้งวัน
สถานที่จัด
ศูนย์กีฬาและนันทนาการ (MJU Sport Complex)
ภายในสถาบัน
ในประเทศ
ต่างประเทศ
หน่วยงานที่จัด
ผู้รับผิดชอบ
ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก
สาขา/กอง
หน่วยงานภายใน
ชื่อหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล
ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
6514101492
นาย
อิทธิกร
สายเดช
:
นิเทศศาสตร์บูรณาการ
9ชั่วโมง
6614101317
นาย
จักรภัทร
เกิดความสุข
:
นิเทศศาสตร์บูรณาการ
9ชั่วโมง
6614101366
นาย
ปภาวิน
จุลกัณฑ์
:
นิเทศศาสตร์บูรณาการ
9ชั่วโมง
6614101429
นาย
อภิชาติ
ซิ้มเทียม
:
นิเทศศาสตร์บูรณาการ
9ชั่วโมง
6614102335
นาย
ธนกฤต
พุ่มพฤกษ์
:
ภาษาอังกฤษ
9ชั่วโมง
6614102364
นาย
พิตตินันท์
เสือเขียว
:
ภาษาอังกฤษ
9ชั่วโมง
6614102368
นาย
ภัทธดนย์
มนัสมโนธรรม
:
ภาษาอังกฤษ
9ชั่วโมง
6614102413
นางสาว
กิตติ์ธัญญา
ชื่นชม
:
ภาษาอังกฤษ
9ชั่วโมง
จังหวัดเชียงใหม่ มีความหลากหลายและโดดเด่นทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ทำให้กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม ภายใต้แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community –Based Tourism) เติบโตอย่างต่อเนื่อง เสริมสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดเชียงใหม่ จากทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ที่เน้นความยั่งยืนในมิติสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม การเสริมสร้างมูลค่า/สร้างรายได้ให้กับชุมชน และการให้ความสำคัญกับคุณค่าและความภาคภูมิใจของมรดกวัฒนธรรมและธรรมชาติของชุมชน อันจะทำให้การพัฒนาประเทศอย่างสมดุลและยั่งยืนของสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นและประเทศชาติ
อย่างไรก็ตามการเติบโตทั้งปริมาณและคุณภาพของการท่องเที่ยวในโลกปัจจุบัน จำนวนนักท่องเที่ยวที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ความหลากหลายและความสนใจของนักท่องเที่ยวแต่ละเชื้อชาติ /อายุ/อาชีพ ตลอดถึงความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลการท่องเที่ยวด้วยเครือข่ายสังคมออนไลน์ ทำให้แนวคิดการท่องเที่ยวจากการไปให้ถึง การแวะเยี่ยมชม การมองเห็นถ่ายรูป การซื้อของที่ระลึก เปลี่ยนเป็นความต้องการของนักท่องเที่ยวที่อยากเข้าไปมีส่วนร่วม (Active participation) มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน (Interaction) มีการเรียนรู้ประสบการณ์ (Learning experience) ในวิถีชีวิตประจำวันของผู้คนชุมชนท้องถิ่น (host communities) ในขณะที่ชุมชนเจ้าของวัฒนธรรมและพื้นที่ท่องเที่ยวก็มีความตระหนักรู้ในคุณค่าของสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมชุมชนตัวเองมากขึ้น เป็นทิศทางใหม่ของการท่องเที่ยว ที่เรียกว่า การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) และถูกบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เป็นต้นมา
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มีปรัชญาว่าด้วยความรู้ทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ นำไปสู่ความเข้าใจสังคม คุณค่าความเป็นมนุษย์ คุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม การใช้เหตุผลในการสื่อสาร การวิเคราะห์ชีวิตและการพัฒนาสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นโดยเล็งเห็นถึงศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นตำบลแม่ตื่น อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีจุดแข็งด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ ที่สามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม ควรค่าแก่การดูแล รักษา และพัฒนาต่อยอดให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติต่อไป อีกทั้งการจัดโครงการในครั้งนี้เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาของคณะได้รับการพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศสำหรับการเป็นผู้ประกอบการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวในชุมชน และยังเป็นการต่อยอดจากการจัดโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการต่อเนื่องให้มีคุณภาพสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างยั่งยืน ที่ทางคณะศิลปศาสตร์ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตำรายาสมุนไพรล้านนา ณ จังหวัดแพร่และน่านอีกด้วย
เบญจศีล นุตตะละ
(ผู้บันทึกข้อมูล)
ข้อมูลวันที่ :
09/07/2567 21:55
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่
1
รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน
ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ไม่ระบุ
ระดับ
ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด
6
ชั่วโมง
วัน
เป้าหมายผู้เข้าร่วม
1205
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม
ไม่ระบุ
คน
ตอนที่
2
รายรับ-รายจ่าย
รายรับ
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่ารายรับ
ไม่ระบุ
บาท
ค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
ตอนที่
3
ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่
4
สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัย
สมรรถนะประจำกลุ่มงาน
สมรรถนะของผู้บริหาร
ตอนที่
5
เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
6
ภายใต้โครงการ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพทุนมนุษย์ในการพัฒนาภาษาต่างประเทศ เพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เชิงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ตอนที่
7
ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
8
การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล